คณาจารย์และบุคลากรภาควิชา
คณาจารย์ปัจจุบัน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วีรวรรณ วงศ์ปิ่นเพ็ชร์
ประวัติการศึกษา
2551 – (วท.ด.) การวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
2543 – (วท.ม.) จิตวิทยาโรงเรียน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2541 – (วท.บ.) เกียรตินิยมอันดับ 1 จิตวิทยา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2563 ถึง ปัจจุบัน
- หัวหน้าภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
- รองคณบดี ฝ่ายวิชาการ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
- อาจารย์ประจำภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
- ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการและพัฒนางานวิจัย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพายัพ
- รักษาการคณบดีคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพายัพ
- คณบดีคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยพายัพ
- หัวหน้าสาขาวิชาจิตวิทยา มหาวิทยาลัยพายัพ วาระที่ 2
- หัวหน้าสาขาวิชาจิตวิทยา มหาวิทยาลัยพายัพ วาระที่ 1
- อาจารย์สาขาวิชาจิตวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพายัพ
ความเชื่ยวชาญ/ความสนใจ:
การวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ การวิจัยเพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตของนักเรียนหรือบุคลากรทางการศึกษา ทั้งในระดับปฐมวัย ประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา ฯลฯ หัวหน้าโครงการวิจัย:
2563
- การวิจัยและพัฒนาโปรแกรมการเสริมสร้างทักษะด้านการให้การปรึกษา สำหรับครูประจำชั้นระดับประถมศึกษา เขตพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย. แหล่งทุนวิจัย: สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม (สกสว.).
- การประเมินความพึงพอใจในการให้บริการฝึกอบรมโครงการอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านดาราศาสตร์ขั้นต้น ขั้นกลาง และขั้นสูง ประจำปี 2559 สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ. แหล่งทุนวิจัย: สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)
- ความสัมพันธ์ระหว่างจิตพอเพียงและพฤติกรรมการบริโภคด้วยปัญญาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของโรงเรียนในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. แหล่งทุนวิจัย: มหาวิทยาลัยพายัพ
- โครงการประเมินผลการดำเนินงานเพื่อพัฒนาและปรับปรุงระบบการปฏิบัติงานของสถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน) แหล่งทุนวิจัย: สถาบันวิจัยและพัฒนาพื้นที่สูง (องค์การมหาชน)
- ความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงสาเหตุของความพร้อมในการปฏิบัติงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาของบุคลากรมหาวิทยาลัยพายัพ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. แหล่งทุนวิจัย: มหาวิทยาลัยพายัพ
- ความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงสาเหตุของความพร้อมในการเข้าสู่การเป็นพลเมืองอาเซียนของเยาวชน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ แหล่งทุนวิจัย: มหาวิทยาลัยพายัพ
- การพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงสาเหตุของพฤติกรรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของนักศึกษาระดับปริญญาตรี จังหวัดเชียงใหม่ แหล่งทุนวิจัย: มหาวิทยาลัยพายัพ
- ปัจจัยเชิงสาเหตุของการมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในการเป็นประชากรอาเซียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. แหล่งทุน: มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลสงคราม.
- ปัจจัยพยากรณ์ความผูกพันของนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่. แหล่งทุน: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
- การประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการกระจายโอกาสการเรียนรู้ดาราศาสตร์ “77 จังหวัดเปิดฟ้าส่องโลกดาราศาสตร์ เปิดโอกาสเรียนรู้ทั่วหล้า” ประจำปี 2560 แหล่งทุน: สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน).
- การประเมินความพึงพอใจในการจัดงานการประชุมวิชาการทางดาราศาสตร์เพื่อเยาวชน ครั้งที่ 3 ประจำปี 2560. แหล่งทุนวิจัย: สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน).
- การประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมโครงการกระจายโอกาสการเรียนรู้ดาราศาสตร์ “77 จังหวัดเปิดฟ้าส่องโลกดาราศาสตร์ เปิดโอกาสเรียนรู้ทั่วหล้า” ประจำปี 2559 แหล่งทุน: สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน).
- การประเมินความพึงพอใจในการจัดงานการประชุมวิชาการทางดาราศาสตร์เพื่อเยาวชน ครั้งที่ 2 ประจำปี 2559. แหล่งทุนวิจัย: สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน).
- การประเมินความพึงพอใจในการให้บริการฝึกอบรมโครงการอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านดาราศาสตร์ขั้นต้น ขั้นกลาง และขั้นสูง ประจำปี 2558 สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ. แหล่งทุนวิจัย: สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)
- การพัฒนาชุดกิจกรรมการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในการตั้งครรภ์ของวัยรุ่น. แหล่งทุนวิจัย: สำนักงานส่งเสริมสังคมแห่งการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพเยาวชน (สสค.)
- โครงการประเมินผลการดำเนินงานของสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) ในช่วงระยะเวลา 3 ปีงบประมาณ (พ.ศ. 2552 – 2554). แหล่งทุนวิจัย: สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน).
- ตัวแบบการจัดการธุรกิจการท่องเที่ยวโดยชุมชนด้วยหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่ภาคเหนือ. แหล่งทุนวิจัย: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ประเภททุนวิจัย นวมินทร์ ด้านเศรษฐกิจพอเพียง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2555
- แนวทางการพัฒนาประสิทธิภาพการจัดการขนส่งสินค้าการเกษตรในเขตภาคเหนือของประเทศไทย. แหล่งทุนวิจัย: สำนักบริหารโครงการวิจัยในอุดมศึกษาและพัฒนามหาวิทยาลัยวิจัยแห่งชาติ สำนักงานการอุดมศึกษา
- แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการมีเพศสัมพันธ์ก่อนการสมรสและการตั้งครรภ์ของวัยรุ่น ในจังหวัดกำแพงเพชร แหล่งทุนวิจัย: สำนักงานส่งเสริมและสนับสนุนวิชาการ 8 จังหวัดลพบุรี กรมพัฒนาสังคมและสวัสดิการ
- การศึกษาแนวทางการแก้ปัญหาพฤติกรรมเสี่ยงของเด็กและเยาวชนโดยผ่านกระบวนการเรียนรู้ร่วมกัน: ศึกษาเฉพาะกรณีเขตพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร. แหล่งทุนวิจัย: สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ จังหวัดกำแพงเพชร
- อนุ เจริญวงศ์ระยับ และวีรวรรณ วงศ์ปิ่นเพ็ชร์. (2563). ปัจจัยเชิงสาเหตุของการมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในการเป็นประชากรอาเซียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในเขตภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทย. วารสารหาดใหญ่วิชาการ, 18(1), 81-102.
- ภัทรพงษ์ ธำมรงค์ปรีชาชัย, ธีรวรรณ ธีระพงษ์, และวีรวรรณ วงศ์ปิ่นเพ็ชร์. (2563). อิทธิพลของความเมตตากรุณาต่อตนเองที่มีต่อความกรุณาต่อผู้อื่นและความสุขของจิตอาสาในกรุงเทพมหานครและเขตปริมณฑล. มนุษยศาสตร์สาร 21(2), 84 – 102.
- วีรวรรณ วงศ์ปิ่นเพ็ชร์,พงษ์จันทร์ ภูษาพานิชย์, ชูชัย สมิทธิไกร, และพิมพ์ชนก เครือสุคนธ์. (2562). โมเดลสมการโครงสร้างเชิงสาเหตุของความจงรักภักดีของนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. 30(1): 24-37.
- ธัญพิชชา เชมื่อ และวีรวรรณ วงศ์ปิ่นเพ็ชร์. (2562). ผลของโปรแกรมกลุ่มสัมพันธ์ที่มีต่อลักษณะมุ่งอนาคตควบคุมตนของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนศิริมาตย์เทวี อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย. Rajabhat Journal of Science, Humanities& Social Sciences. 20(2): 404-417.
- Chuchai Smithikrai, Tassanee Homklin, Pongchan Pusapanich, Veerawan Wongpinpech, Pimchanok Kreausukon. (2018). Factors influencing Students’ Academic Success:the Mediating Role of Study Engagement. International Journal of Behavioral Science. 13(1): 1-14.
- วีรพงษ์ พวงเล็ก, วสุพล ตรีโสภากุล, ณภัทรรัตน์ ไชยอัครกัลป์, และวีรวรรณ วงศ์ปิ่นเพ็ชร์. (2559). การศึกษาความสัมพันธ์การตระหนักรู้อัตลักษณ์ และการรับรู้ภาพลักษณ์มหาวิทยาลัยจากการเปิดรับสื่อเว็บไซด์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา. 8(2): 117-127.
- วีรวรรณ วงศ์ปิ่นเพ็ชร์. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างจิตพอเพียงและพฤติกรรมการบริโภคด้วยปัญญาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของโรงเรียนในเขตอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น. 9(2-4): 164-174.
- วีรวรรณ วงศ์ปิ่นเพ็ชร์, และกุลกนก มณีวงศ์. (2556). ความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงสาเหตุของความพร้อมในการเข้าสู่การเป็นพลเมืองอาเซียนของเยาวชน อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา. 5(1): 139-148.
- วีรวรรณ วงศ์ปิ่นเพ็ชร์, และกุลกนก มณีวงศ์. (2555). ปัจจัยเชิงสาเหตุของความพร้อมในการเข้าสู่การเป็นพลเมืองอาเซียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่. Rajabhat Journal of Science, Humanities& Social Sciences. 13(2): 50-64.
- วีรวรรณ วงศ์ปิ่นเพ็ชร์, และชลิดา วสุวัต. (2554). การพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงสาเหตุของพฤติกรรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของนักศึกษาระดับปริญญาตรี จังหวัดเชียงใหม่. วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา. 3(1): 145-158
- ธัญลักษณ์ อิสสระ, และวีรวรรณ วงศ์ปิ่นเพ็ชร์. (2553). ความสามารถร่วมกันในการพยากรณ์ของการสนับสนุนทางสังคม การเข้าถึงใจ และความพึงพอใจในชีวิตสมรสที่มีต่อการให้อภัยคู่สมรส. วารสารจิตวิทยาคลินิค. 41(1): 11-18.
- วีรวรรณ สุกิน. (2551). อิทธิพลของจิตลักษณะและสถานการณ์ในการทำงานที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการสอนอย่างมีประสิทธิภาพของอาจารย์สาขาวิศวกรรมศาสตร์. วารสารพฤติกรรมศาสตร์. 14(1): 1-20.
- วีรวรรณ สุกิน. (2551, กรกฎาคม-ธันวาคม). ลิสเรล: ทางเลือกในการวิเคราะห์ข้อมูล. วารสารมหาวิทยาลัยพายัพ. 20(1): 191-214.
- พิมพ์ชนก เครือสุคนธ์, พงษ์จันทร์ ภูษาพานิชย์, วีรวรรณ วงศ์ปิ่นเพ็ชร์, และชูชัย สมิทธิไกร. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจต่อบริการกับความผูกพันต่อมหาวิทยาลัยของนักศึกษา: บทบาทการเป็นตัวแปรสื่อของการรับรู้ภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัย. การประชุมวิชาการปัญญาภิวัฒน์ระดับชาติ ครั้งที่ 8 (น. F55 – F67). กรุงเทพฯ: สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์.
- พงษ์จันทร์ ภูษาพานิชย์, วีรวรรณ วงศ์ปิ่นเพ็ชร์, ชูชัย สมิทธิไกร, และพิมพ์ชนก เครือสุคนธ์. (2561). ปัจจัยพยากรณ์ความผูกพันของนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในการประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติทางจิตวิทยา ประจำปี 2561 หลากหลายอย่างกลมกลืนในมุม (มอง) จิตวิทยา (น. 369-383). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
- วีรวรรณ วงศ์ปิ่นเพ็ชร์; ปาจรีย์ ผลประเสริฐ; วรางคณา จันทร์คง; รัชนีวรรณ บุญอนันท์; และศุภโชคชัย นันทศรี. (2558). การนำเสนอผลงานวิชาการเรื่อง การพัฒนาชุดกิจกรรมการป้องกันพฤติกรรมเสี่ยงในการตั้งครรภ์ของวัยรุ่น ในโครงการการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัย มหาวิทยาลัยพายัพ พ.ศ. 2558 (Payap University Research Symposium 2015) 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558 (น. 66-74). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยพายัพ ร่วมกับ เครือข่ายบริหารการวิจัยภาคเหนือตอนบน (สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา).
- วีรวรรณ วงศ์ปิ่นเพ็ชร์; ดวงพร อ่อนหวาน. (2557). การนำเสนอผลงานวิชาการเรื่อง ปัจจัยเชิงเหตุของพฤติกรรมการจัดการธุรกิจการท่องเที่ยวโดยชุมชนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทย ในโครงการการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัย มหาวิทยาลัยพายัพ พ.ศ. 2557 (Payap University Research Symposium 2014) 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555 (น. 21-32). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยพายัพ ร่วมกับ เครือข่ายบริหารการวิจัยภาคเหนือตอนบน (สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา).
- วีรวรรณ วงศ์ปิ่นเพ็ชร์; และพีณา จันทะแก้ว. (2557). การนำเสนอผลงานวิชาการเรื่องตัวแปรที่มีสัมพันธ์กับความพร้อมในการปฏิบัติงานด้านการประกันคุณภาพการศึกษาของบุคลากร มหาวิทยาลัยพายัพ จังหวัดเชียงใหม่ ในการสัมมนาทางวิชาการระดับชาติเพื่อเผยแพร่ผลงานวิจัยด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 3 วันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2557 (น. 109-119). เชียงใหม่: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
- วีรวรรณ วงศ์ปิ่นเพ็ชร์; ปาจรีย์ ผลประเสริฐ; ยุภาดี ปณะราช. (2555). ปัจจัยเชิงสาเหตุของพฤติกรรมเสี่ยงต่อการมีเพศสัมพันธ์ของวัยรุ่นในจังหวัดกำแพงเพชร ในโครงการการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัย มหาวิทยาลัยพายัพ พ.ศ. 2555 (Payap University Research Symposium 2012) (น. 340-349). เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยพายัพ ร่วมกับ เครือข่ายบริหารการวิจัยภาคเหนือตอนบน (สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา).
- วีรวรรณ วงศ์ปิ่นเพ็ชร์และชลิดา วสุวัต. (2554). การพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์โครงสร้างเชิงสาเหตุของพฤติกรรมการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตของนักศึกษาระดับปริญญาตรี จังหวัดเชียงใหม่. การประชุมวิชาการเผยแพร่บทคัดย่อประเด็นคุณธรรม 3 ประการ ซื่อสัตย์ รับผิดชอบ และพอเพียง ในงานสมัชชาคุณธรรมแห่งชาติ ครั้งที่ 5 “เปิดขอบฟ้าคุณธรรม จริยธรรมปีที่ 2” วันที่ 23 กรกฎาคม 2554 (น. 144-145). กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม.
- วีรวรรณ วงศ์ปิ่นเพ็ชร์. (2551). อิทธิพลของจิตลักษณะและสถานการณ์ในการทำงานที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการสอนอย่างมีประสิทธิภาพของอาจารย์สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์. ในการประชุมวิชาการทางพฤติกรรมศาสตร์ เนื่องในโอกาสวันสถาปนาสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ครบรอบ 53 ปี 25 สิงหาคม 2551. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
- วีรวรรณ วงศ์ปิ่นเพ็ชร์. (2551). อิทธิพลของจิตลักษณะและสถานการณ์ในการทำงานที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการสอนอย่างมีประสิทธิภาพของอาจารย์สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์. ในการประชุมการนำเสนอผลงานวิจัยแห่งชาติ 2551 (Thailand Research Expo 2008) วันที่ 14 กันยายน 2551 (น. 127). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.).
- วีรวรรณ วงศ์ปิ่นเพ็ชร์. (2551). อิทธิพลของจิตลักษณะและสถานการณ์ในการทำงานที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการสอนอย่างมีประสิทธิภาพของอาจารย์สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์. ในการนำเสนอผลงานของผู้ที่ได้รับรางวัลผลงานวิจัยด้านการวิจัยและพัฒนาระบบพฤติกรรมไทย ประจำปี 2551 วันที่ 30 กันยายน 2553 (น. 71-80). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
- วีรวรรณ วงศ์ปิ่นเพ็ชร์. (2549). ผลของการฟังเสียงดนตรีที่มีต่อระดับสติปัญญาและความสามารถทางด้านสติปัญญาของนักเรียนชั้นอนุบาล. ในการประชุมวิชาการทางพฤติกรรมศาสตร์เพื่อพัฒนาบุคคลและสังคม เนื่องในโอกาสวันสถาปนาสถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ครบรอบ 51 ปี 25 สิงหาคม 2549. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
- รางวัลการนำเสนอผลงานวิจัยดีเด่น แบบบรรยาย เรื่อง ปัจจัยพยากรณ์ความผูกพันของนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในการประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติทางจิตวิทยา ประจำปี 2561 หลากหลายอย่างกลมกลืนในมุม (มอง) จิตวิทยา ดูน้อยลง
- นักวิจัยดีเด่น ประจำปี 2555 มหาวิทยาลัยพายัพ
- รางวัลระดับชมเชยด้านการวิจัยและพัฒนาระบบพฤติกรรมไทยประจำปีพ.ศ. 2551 ของสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) จากปริญญานิพนธ์เรื่อง อิทธิพลของ จิตลักษณะและสถานการณ์ในการทำงานที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการสอนอย่างมีประสิทธิภาพของอาจารย์สาขาวิชาวิศวกรรมศาสตร์
ศาสตราจารย์ ดร. ชูชัย สมิทธิไกร
Ph.D. (Industrial & Organizational Psychology), University of Nebraska, USA, 2536. (ทุนฟุลไบรท์)
ค.ม. (จิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2525.
วท.บ. (สาธารณสุขศาสตร์) มหาวิทยาลัยมหิดล, 2523.
ประวัติการทำงาน
2526-ปัจจุบัน
- อาจารย์ประจำภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2538-2544, 2550-2560
- ประธานกรรมการบริหารหลักสูตรบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2543-2546
- รองผู้อำนวยการสำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2557 – 2560
กรรมการสภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2536-2538
- หัวหน้าภาควิชาจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2536-2538
- กรรมการประจำคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2546-2550
- ที่ปรึกษาผู้ทรงคุณวุฒิ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2551-2557
- กรรมการบริหารหลักสูตรบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาวิทยาศาสตร์การกีฬา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2539-2544
- กรรมการบริหารหลักสูตรบัณฑิตศึกษา สาขาวิชาการจัดการมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ความเชี่ยวชาญ
จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ การจัดการทรัพยากรมนุษย์ในองค์การ จิตวิทยาเชิงบวก
ผลงานทางวิชาการ บทความทางวิชาการ บทความวิจัย และรายงานวิจัย
2564
- ปริยานุช วุฒิ ชูประดิษฐ์, สุภัทร ชูประดิษฐ์, และ ชูชัย สมิทธิไกร. (2564). การพัฒนาและการศึกษาคุณสมบัติการวัดทางจิตวิทยาของมาตรวัดการเสพติดซื้อสินค้าออนไลน์ สำหรับวัยทำงาน (รายงานผลการวิจัย). เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
- ชูชัย สมิทธิไกร และภัทรานิษฐ์ โชติพิพิทย์กุล. (2564). อิทธิพลของการจัดการความหลากหลายด้านช่วงอายุที่มีต่อความผูกพันต่อองค์การของพนักงานเจนเนอเรชันวาย: แบบจำลองการสื่ออิทธิพลที่มีตัวแปรกำกับ. วารสารการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การ, 13(1), 81-111.
- ชูชัย สมิทธิไกร และอาชว์บารมี มณีตระกูลทอง. (2564). การวิเคราะห์องค์ประกอบของจุดแข็งเชิงจิตวิทยาในบริบทสังคมไทย: การศึกษาจากคำศัพท์พรรณนาลักษณะบุคคล. มนุษยศาสตร์สาร, 22(1), 121-142.
2563
- ชูชัย สมิทธิไกร และอาชว์บารมี. (2563). การวิเคราะห์องค์ประกอบของจุดแข็งเชิงจิตวิทยาในบริบทสังคมไทย : การศึกษาจากคำศัพท์พรรณนาลักษณะบุคคล (รายงานผลการวิจัย). เชียงใหม่ : คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
- Smithikrai, C. (2020). How optimism leads employees to show good citizenship: A serial mediation model. Panyapiwat Journal, 12(2), 160-173.
2562
- ชูชัย สมิทธิไกร. (2562). ปัจจัยที่มาและผลของความผูกพันต่องาน (รายงานผลการวิจัย). เชียงใหม่ : คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
- Smithikrai, C. (2019). Antecedents and consequences of work engagement among Thai employees. The Journal of Behavioral Science, 14(3), 14-31.
- Smithikrai, C. & Phetkham, T. (2019). How Leader-Follower Relations Influence Nurses’ Intention to Stay: An Investigation in a Thai Sample. The Journal of Social Sciences Research, 5(1), 183-189.
- วีรวรรณ วงศ์ปิ่นเพ็ชร์, พงษ์จันทร์ ภูษาพานิชย์, ชูชัย สมิทธิไกร, และ พิมพ์ชนก เครือสุคนธ์. (2562). ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่มีผลต่อความจงรักภักดีของนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 30(1), 24-37.
2561
- พงษ์จันทร์ ภูษาพานิชย์, วีระวรรณ วงศ์ปิ่นเพ็ชร์, ชูชัย สมิทธิไกร, และ พิมพ์ชนก เครือสุคนธ์. (2561). ปัจจัยพยากรณ์ความผูกพันของนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (รายงานผลการวิจัย). เชียงใหม่ : คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
- พิมพ์ชนก เครือสุคนธ์, พงษ์จันทร์ ภูษาพานิชย์, วีรวรรณ วงศ์ปิ่นเพ็ชร์, และ ชูชัย สมิทธิไกร. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจต่อการบริการกับความผูกพันต่อมหาวิทยาลัยของนักศึกษา: บทบาทของการรับรู้ภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยในฐานะตัวแปรสื่อ. รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการ PIM 8th National and 1st International Conference “Challenges and Opportunities of ASEAN: Innovative, Integrative and Inclusive Development” (หน้า F55-F67), 21 มิถุนายน 2561, กรุงเทพฯ.
- Smithikrai, C. & Suwannadet, J. (2018). Authentic leadership and proactive work behavior: Moderated mediation effects of conscientiousness and organizational commitment. The Journal of Behavioral Science, 13(2), 94-106.
- Smithikrai, C., Homklin, T., Pusapanich, P., Wongpinpech, V., & Kreausukon, P. (2018). Factors influencing students’ academic success: The mediating role of study engagement, International Journal of Behavioral Science, 13(1), 1-14.
2560
- Smithikrai, C. (2017). The significant roles of organizational cynicism and positive orientation in the relationship between job stress and turnover intention. Proceeding of the First Southeast Asia Regional Conference of Psychology (pp. 269-278), 28 November – 1 December 2017, Hanoi, Vietnam.
- Smithikrai, C. (2017). Determinants of Employees’ Proactive Work Behavior: The Mediating Role of Work Engagement. Proceeding of the 10th Multidisciplinary Academic Conference (pp. 1-9), 26–27 May 2017, Prague, Czech Republic.
- Tevichapong, P., Boonyarit, I., Smithikrai, C., & Pusapanich, P. (2017). Job resources matter? Their influence on work engagement and organizational commitment among academic staff. Proceeding of the 9th International Conference on Humanities and Social Sciences, 26 May 2017, Songkhla.
- ชูชัย สมิทธิไกร และพงษ์จันทร์ ภูษาพานิชย์. (2560). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความผูกพันต่องานและความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. Kasetsart Journal of social sciences, 38, 655-667.
2559
- ชูชัย สมิทธิไกร และ พงษ์จันทร์ ภูษาพานิชย์. (2559). ความผูกพันต่องานและความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (รายงานผลการวิจัย). เชียงใหม่ : คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
- Smithikrai, C., Nipawong, P., Panai, J., Tuntivate, P., & Ruangsaeng, A. (2016). Relationships of Positive Orientation to Positive Work Behaviors across Four Occupational Groups in Thailand. Paper presented at the 3rd International Conference on Positive Psychology and Well-being, 22–24 September 2016, Xi’an, China.
- Smithikrai, C. (2016). Effectiveness of teaching with movies to promote positive characteristics and behaviors. Procedia Social and Behavioral Sciences. 217, 522– 530.
2558
- ชูชัย สมิทธิไกร. (2558). ประสิทธิผลของการสอนด้วยภาพยนตร์เพื่อส่งเสริมคุณลักษณะและพฤติกรรมเชิงบวก (รายงานผลการวิจัย). เชียงใหม่ : คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
- Smithikrai, C., Longthong, N., & Peijsel, C. (2015). Effect of Using Movies to Enhance Personal Responsibility of University Students. Asian Social Science, 11(5), 1-9.
2557
- ชูชัย สมิทธิไกร, ฉัตรวิบูลย์ ไพจ์เซล, และณฐวัฒน์ ล่องทอง. (2557). ผลของการใช้ภาพยนตร์เพื่อเพิ่มพูนความภาคภูมิใจในตนและความรับผิดชอบต่อตนเองของนักศึกษามหาวิทยาลัย (รายงานผลการวิจัย). เชียงใหม่ : คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
- Smithikrai, C. (2014). Relationship of Cultural Values to Counterproductive Work Behaviour: The Mediating Role of Job Stress. Asian Journal of Social Psychology, 17, 36-43.
- Smithikrai, C. (2014). The Mediating Roles of Academic Stress and Life Satisfaction in the Relationship between Personal Responsibility and Academic Performance. In F. L. Gaol, S. Kadry, M. Taylor, & P. S. Li (Eds.), Recent Trends in Social and Behaviour Sciences (pp. 383-387). London: Crc Press.
2556
- ชูชัย สมิทธิไกร. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างค่านิยมเชิงวัฒนธรรมกับพฤติกรรมต่อต้านการปฏิบัติงาน : บทบาทการเป็นตัวแปรสื่อของความเครียดในงาน (รายงานผลการวิจัย). เชียงใหม่ : คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
2555
- Smithikrai, C. (2012). Relationship of Cultural Values to Counter-productive Work Behavior: The Mediating Role of Job Stress. Proceeding of the 10th conference of the European Academy of Occupational Health Psychology (EAOHP), 11-13 April 2012, Zurich, Switzerland.
2554
- ชูชัย สมิทธิไกร, พงษ์จันทร์ ภูษาพานิชย์, นิทราพร อุตตโม, ประพัฒน์ พิละกันทา, และสุภาภรณ์ มโนรส. (2554). การศึกษาความพึงพอใจและปัญหาเกี่ยวกับโครงสร้างการบริหารงานของคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (รายงานผลการวิจัย). เชียงใหม่ : คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
- Smithikrai, C. (2011). Individualism-Collectivism and Voluntary Work Behavior in Thailand. Proceeding of the 2011 Shanghai International Conference on Social Science, 17-20 August 2011, Shanghai, China.
2553
- Chang, K., & Smithikrai, C. (2010). Counterproductive behaviour at work: An investigation into reduction strategies in Thailand. International Journal of Human Resource Management, 21, 1272-1288.
2552
- Smithikrai, C. (2009). Collectivism as a moderator of the relationships among work-family conflict, perceived job stress and counter-productive work behavior. Proceeding of the 6th International Postgraduate Research Colloquium on “Psycho-Behavioral Science and Quality of Life”, 17-19 June 2009, Behavioral Science Research Institute, Srinakharinwirot University, Bangkok, Thailand.
- Smithikrai, C. (2009). Antecedents of voluntary work behavior in Thailand. The Business Review, Cambridge, 12(1), 158-166.
2551
- ชูชัย สมิทธิไกร. (2551). ปัจจัยที่พยากรณ์พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การและพฤติกรรมต่อต้านการปฏิบัติงาน (รายงานผลการวิจัย). เชียงใหม่ : คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
- Smithikrai, C. (2008). Moderating effect of situational strength on the relationship between personality traits and counterproductive work behavior. Asian Journal of Social Psychology, 11, 253-263.
- ชูชัย สมิทธิไกร. (2551). ลักษณะบุคลิกภาพที่พยากรณ์พฤติกรรมต่อต้านการปฏิบัติงาน. วารสารสงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 14(4), 513-530.
- Smithikrai, C. (2008). Personal characteristics as predictors of organiza-tional citizenship behavior in Thailand. Paper presented at the XXIX International Congress of Psychology, 20 – 25 July 2008, Berlin, Germany.
2550
- ชูชัย สมิทธิไกร. (2550). ลักษณะบุคลิกภาพที่พยากรณ์พฤติกรรมต่อต้านการปฏิบัติงาน (รายงานผลการวิจัย). เชียงใหม่ : คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
- Smithikrai, C. (2007). Personality traits and job success: An investigation in a Thai sample. International Journal of Selection and Assessment, 15, 134-138.
2549
- Smithikrai, C. (2006). Factors predicting entrepreneurial intention among Thai students. Paper presented at the 1st Convention of APsyA (Asian Psychological Association), August 18-20, Bali, Indonesia และตีพิมพ์ใน มนุษยศาสตร์สาร (2549), 7(2), 27-47.
2548
- ชูชัย สมิทธิไกร. (2548). ศักยภาพการเป็นผู้ประกอบการของนักศึกษามหาวิทยาลัยไทย (รายงานผลการวิจัย). เชียงใหม่ : คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
- ชูชัย สมิทธิไกร. (2548). การเปรียบเทียบคุณลักษณะความเป็นผู้ประกอบการระหว่างผู้ประกอบการวิสาหกิจขนาดย่อมและขนาดกลางที่ประสบความสำเร็จสูงและต่ำในจังหวัดเชียงใหม่. มนุษยศาสตร์สาร, 6(2), 27-47.
2546
- ชูชัย สมิทธิไกร. (2546). ลักษณะบุคลิกภาพและความสำเร็จในการทำงานของบุคคล (รายงานผลการวิจัย). เชียงใหม่ : คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
- ชูชัย สมิทธิไกร และพีระพล คดบัว. (2546). การจัดทำแผนอัตรากำลังคนขององค์การบริหารส่วนจังหวัดลำพูน. เชียงใหม่ : คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
2545
- Kotbua, P., Smithikrai, C., Limpanarome, A., Siviroj, P. Saenchan, L., & Tovichakchai-kul, S. (2002). An Investigation of drug-related behaviors in northern Thailand (research report). Chiang Mai: Chiang Mai University.
2544
- พงศ์ศักดิ์ อังกสิทธิ์ และคณะ. (2544). โครงการจัดทำแผนแม่บทการพัฒนาเกษตรที่สูง. รายงานการวิจัยเสนอต่อกองพัฒนาเกษตรที่สูง (รายงานผลการวิจัย). เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
2543
- เกษม นครเขตต์, สามารถ ศรีจำนงค์, อุเทน ปัญโญ, อเนก ช้างน้อย, มนัส ยอดคำ, โสภณ อรุณรัตน์, ชูชัย สมิทธิไกร, เดช กาญจนางกูร, เศกสิน ศรีวัฒนานุกูลกิจ, และนิ่มอนงค์ งามประภาสม. (2543). โครงการวิจัยเพื่อพื้นฐานการพัฒนาการส่งเสริมสุขภาพในสถานที่ทำงานภาคเอกชน : กรณีศึกษาสี่จังหวัดภาคเหนือ (รายงานผลการวิจัย). เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
- Smithikrai, C. (2000). Human resource development of high- and low-performance business organizations in Thailand. Paper presented at the XXVII International Congress of Psychology, July 23-28, 2000, Stockholm, Sweden.
- Otrakul, A., Charoenkul, C., Smithikrai, C., Tantipiwatanaskul, P., & Krabwong, M (2000). A development of a mental health indicator for the Thai people. Paper presented at the XXVII International Congress of Psychology, July 23-28, 2000, Stockholm, Sweden.
- Smithikrai, C. (2000). Human resource development of business organizations in Thailand: a comparison between high- and low-performance organizations. Paper presented at the 15th Annual Conference of the Society for Industrial and Organizational Psychology, April 14-16, 2000, New Orleans, LA, USA.
- ชูชัย สมิทธิไกร. (2543). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์การธุรกิจในประเทศไทย: การเปรียบเทียบระหว่างองค์การที่มีผลการดำเนินงานดีและไม่ดี. มนุษยศาสตรสาร, 1(1), 54-67.
2540
- ชูชัย สมิทธิไกร. (2540). การประเมินผลลัพธ์และความคุ้มค่าของโครงการฝึกอบรม วารสารเพิ่มผลผลิต, 36(7),64-74.
2541
- Otrakul, A., Charoenkul, C., Smithikrai, C., Tantipiwatanaskul, P., & Krabwong, M. (1998). A development of a mental health indicator (research report). Bangkok: Mahidol University.
- ชูชัย สมิทธิไกร. (2541). การจัดหาและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์การธุรกิจในประเทศไทย:การเปรียบเทียบระหว่างองค์การที่มีผลการดำเนินงานดีและไม่ดี (รายงานผลการวิจัย). เชียงใหม่ : คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
- มนัส สุวรรณ, อุดม เกิดพิบูลย์, ชูชัย สมิทธิไกร, ประหยัด ปานดี, บุญเลิศจิตตั้งวัฒนา, ชูศักดิ์ วิทยาภัค, และประสาน ตังสิกบุตร. (2541). โครงการศึกษาเพื่อจัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อฟื้นฟูทรัพยากรการท่องเที่ยวในพื้นที่อนุรักษ์ (เชียงใหม่) (รายงานผลการวิจัย). เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
2539
- ชูชัย สมิทธิไกร. (2539). การสรรหาและการคัดเลือกบุคลากรขององค์การธุรกิจในประเทศไทย. เอกสารการประชุมเสนอผลงานวิชาการ คณะมนุษยศาสตร์ ครั้งที่ 7 วันที่ 17 พฤศจิกายน 2541 คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
- ชูชัย สมิทธิไกร. (2539). ผลของสถานการณ์ชี้แนะที่มีต่อการรับรู้ของผู้บริโภคเกี่ยวกับคุณภาพของการบริการ. วารสารจิตวิทยา, 3(2), 29-45.
- ชูชัย สมิทธิไกร. (2539). จิตวิทยาการบริหารและการเป็นผู้นำ. ใน สมาคมจิตวิทยาแห่งประเทศไทย,เอกสารประกอบการประชุมปฏิบัติการ เรื่อง จิตวิทยากับการพัฒนามนุษย์ในยุคโลกาภิวัตน์, 11-12 ธันวาคม 2539, โรงแรมริมกกรีสอร์ท, เชียงราย.
- ชูชัย สมิทธิไกร. (2539). การพัฒนาแผนกลยุทธ์และหลักสูตรการฝึกอบรมบุคลากรในองค์การ. ใน สมาคมจิตวิทยาแห่งประเทศไทย, เอกสารประกอบการประชุมวิชาการประจำปี เรื่อง เทคนิคทางจิตวิทยาในการพัฒนาคุณภาพคน, 6-7 กรกฎาคม 2539, โรงแรมรอยัลออร์คิด เชอราตัน, กรุงเทพฯ.
- ชูชัย สมิทธิไกร. (2539). กลยุทธ์การจูงใจพนักงาน. วารสารเพิ่มผลผลิต, 35(2), 12-23.
- ชูชัย สมิทธิไกร. (2539). จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การที่เหมาะสมกับประเทศไทย: การเรียน การสอน และการวิจัย. วารสารจิตวิทยา, 3(1), 16-27.
2538
- Smithikrai, C. (1995). A cross-cultural study of organizational charac-teristics in Thailand and the United States. Paper Presented at the IV European Congress of Psychology, July 2-7, 1995, Athens, Greece.
- ชูชัย สมิทธิไกร. (2538). กลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนอย่างมีเป้าหมาย: กลยุทธ์สนับสนุนการถ่ายโอนการเรียนรู้ภายหลังการฝึกอบรม. บทความเสนอในการประชุมวิชาการระดับชาติ เรื่อง จิตวิทยากับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในสังคมไทย, 24-25 สิงหาคม 2538, โรงแรมปางสวนแก้ว, เชียงใหม่.
2537
- ชูชัย สมิทธิไกร. (2537). การวิเคราะห์ลูกค้า: การวิเคราะห์ความต้องการในการฝึกอบรมจากมุมมองของลูกค้า. วารสารเพิ่มผลผลิต, 33(2), 7-11.
- ชูชัย สมิทธิไกร. (2537). แนวโน้มและวิธีการใหม่ในการประเมินบุคคลเพื่อการเลื่อนตำแหน่ง. บทความเสนอในการประชุมผู้เชี่ยวชาญพิเศษด้านเทคนิคการประเมินบุคคล, 9 กันยายน 2537, สำนักงาน ก.พ., กรุงเทพฯ.
2536
- ชูชัย สมิทธิไกร. (2536). จิตวิทยาการทำงานเป็นทีม. วารสารเพิ่มผลผลิต, 32(5), 27-32.
2534
- Scherer, L., Harrison, M., Butler, A., DeLaCastro, R., & Smithikrai, C. (1991). Effect of race and criminal conviction on preselection judgments. Paper presented at the 51st Annual Meeting of the Academy of Management, August 11-14, 1991, Miami Beach, FL, USA.
2531
- ชูชัย สมิทธิไกร. (2531). การสื่อสารในการทำงาน: อุปสรรคและวิธีการแก้ไข. วารสารเพิ่มผลผลิต, 27, 53-60.
2530
- ชูชัย สมิทธิไกร และ สมชาย เตียวกุล. (2530). ผลของประสบการณ์กลุ่มฝึกมนุษยสัมพันธ์ที่มีต่อทัศนคติส่วนบุคคลตามการรับรู้ของผู้รับการฝึก. วารสารจิตวิทยาคลีนิค, 18(1), 41-45.
- ชูชัย สมิทธิไกร. (2530). การจัดการความขัดแย้งระหว่างบุคคล. วารสารเพิ่มผลผลิต, 26, 34-39.
- ชูชัย สมิทธิไกร. (2530). การจัดกิจกรรมกลุ่มเพื่อพัฒนาอัตมโนทัศน์ของเยาวชน. วารสารแนะแนว, 20(108), 65-74.
2527
- ชูชัย สมิทธิไกร. (2527). แนวคิดและการปฏิบัติเพื่อแก้ปัญหาพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของนักเรียน. วารสารแนะแนว, 18(90), 22-25.
หนังสือและตำรา
2564
- ชูชัย สมิทธิไกร. (2564). จิตวิทยาสังคม. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
- ชูชัย สมิทธิไกร, พงษ์จันทร์ ภูษาพานิชย์, อิสระ บุญญะฤทธิ์ และ แสงเดือน ยอดมณีวงศ์ (บรรณาธิการ). (2564). จิตวิทยาทั่วไป. เชียงใหม่: ภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
- ชูชัย สมิทธิไกร. (ผู้แปล, 2564). ชนะเป็นพระทั้งคู่ (แปลจาก Everyone can win ของ Helena Cornelius & Shoshana Faire). เชียงใหม่: ภาควิชาจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
2563
- ชูชัย สมิทธิไกร. (2563). พฤติกรรมผู้บริโภค (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
2559
- ชูชัย สมิทธิไกร. (2559). การฝึกอบรมบุคลากรในองค์การ (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
2556
- ชูชัย สมิทธิไกร. (2556). การสรรหา การคัดเลือก และการประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคลากร(พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
- ชูชัย สมิทธิไกร. (2556). จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
2544
- ชูชัย สมิทธิไกร.และอรพิณ สันติธีรากุล (2544). คู่มือมาตรฐานการพัฒนาผู้ประกอบการ SMEsหลักสูตรการจัดการทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม.
2538
- ชูชัย สมิทธิไกร. (2538). การพัฒนาบุคลากรด้วยกลุ่มสร้างสรรค์ความงอกงามทางจิตใจ. เชียงใหม่: ภาควิชาจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
2537
- ชูชัย สมิทธิไกร. (ผู้แปล, 2537). บุนชา: โตแล้วต้องแตกตัว (แปลจาก Bunsha ของ Kuniyasu Sakai & Hiroshi Sekiyama). กรุงเทพฯ: ข้าวฟ่าง.
2536
- ชูชัย สมิทธิไกร. (ผู้แปล, 2536). ชนะใจ ชนะคน (แปลจาก How to sell your ideas ของ Jesse S. Nirenberg). กรุงเทพฯ: ข้าวฟ่าง.
- ชูชัย สมิทธิไกร. (ผู้แปล, 2536). ค้นหาความเป็นผู้นำและประสานให้เข้ากับสถานการณ์ (แปลจาก Improving leadership effectiveness ของ Fred E. Fiedler, Martin M. Chemers, & Linda Mahar). กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
2532
- ชูชัย สมิทธิไกร. (ผู้แปล, 2532). 1724 วิธีในการรู้จักตัวเองให้ดีขึ้น (แปลจาก The book of tests ของ Michael Nathanson). กรุงเทพฯ: เรือนแก้วการพิมพ์.
2530
- ชูชัย สมิทธิไกร. (ผู้แปล, 2530). คุณคือเจ้าชีวิต (แปลจาก From manipulator to master ของ Everette L. Shostrom). กรุงเทพฯ: เรือนแก้วการพิมพ์.
2529
- ชูชัย สมิทธิไกร. (2529). การปรึกษาเชิงจิตวิทยา. เชียงใหม่: ภาควิชาจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
- ชูชัย สมิทธิไกร. (ผู้แปล, 2529). คุณทำได้ (แปลจาก Live and be free thru psycho-cybernatics ของ Maxwell Maltz) กรุงเทพฯ: เรือนแก้วการพิมพ์.
2528
- ชูชัย สมิทธิไกร. (2528). กิจกรรมกลุ่มสำหรับการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่ม. เชียงใหม่: ภาควิชาจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
- ชูชัย สมิทธิไกร. (ผู้แปล, 2528). สร้างสรรค์คุณค่า เพิ่มราคาชีวิต (แปลจาก Organize yourself). กรุงเทพฯ: เรือนแก้วการพิมพ์.
- ชูชัย สมิทธิไกร. (ผู้แปล, 2527). ผูกมิตร พิชิตคน (แปลจาก Getting through to people ของ Jesse S. Nirenberg). กรุงเทพฯ: เรือนแก้วการพิมพ์.
2527
- ชูชัย สมิทธิไกร. (2527). ภาวะการรู้สำนึก. ใน คณาจารย์ภาควิชาจิตวิทยา, จิตวิทยาทั่วไป (หน้า 235-279). เชียงใหม่: โรงพิมพ์ช้างเผือก.
ผลงานบริการวิชาการ
2558-2560
- ที่ปรึกษาโครงการจัดทำแบบทดสอบเพื่อใช้ในการคัดเลือกพนักงาน บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน)
2557
- ที่ปรึกษาโครงการประเมินความพึงพอใจของลูกค้า (customer satisfaction survey) สำนักงานบัญชีกลาง บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน)
2551
- ที่ปรึกษาโครงการวิจัยแรงจูงใจและความผูกพันต่อองค์การ โรงไฟฟ้าแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
2549 – 2551
- ที่ปรึกษาโครงการพัฒนาระบบสมรรถนะ (competency) โรงพยาบาลเชียงใหม่ราม จังหวัดเชียงใหม่
2549
- ที่ปรึกษาโครงการวิจัยพฤติกรรมการทำงานสู่ความเป็นเลิศ โรงไฟฟ้าแม่เมาะ จังหวัดลำปาง
2547
- ที่ปรึกษาโครงการจัดทำแบบวัด competency เพื่อใช้ในการคัดเลือกพนักงาน บริษัท สหวิริยาสตีลอินดัสตรีส์ จำกัด (มหาชน)
อื่นๆ
หน่วยงานหรือองค์กรที่เคยได้รับเชิญเป็นวิทยากรในการบรรยายหรือสัมมนา:
- กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
- โครงการ MBA มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
- บริษัท ปูนซิเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน)
- บริษัท บ้านปู จำกัด (มหาชน)
- การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
- กรมสรรพากร
- สมาคมจิตวิทยาแห่งประเทศไทย
- ธนาคารแห่งประเทศไทย
- ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
- ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)
- สำนักงาน ก.พ. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- มหาวิทยาลัยขอนแก่น
- มหาวิทยาลัยนเรศวร
- มหาวิทยาลัยพายัพ
- บริษัท GMM MEDIA จำกัด
- โครงการเสริมสร้างผู้ประกอบการใหม่ ฯลฯ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธีรวรรณ ธีระพงษ์
(ศศ.ด.) จิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
(วท.ม.) จิตวิทยาคลินิก มหาวิทยาลัยมหิดล
(วท.บ.) จิตวิทยา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ประวัติการทำงาน
2536 – ปัจจุบัน
- อาจารย์ประจำภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2552-2553
- หัวหน้าภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2554-2555
- ผู้ช่วยคณบดีคณะมนุษยศาสตร์ ฝ่ายวิชาการ
2555-2556
- รองคณบดีคณะมนุษยศาสตร์ ฝ่ายนโยบายและแผน และประกันคุณภาพการศึกษา
ความเชี่ยวชาญ
จิตวิทยาการปรึกษา
ผลงานตีพิมพ์
2564
- พีรพล จิรปฐมสกุล และ ธีรวรรณ ธีระพงษ์. (2564). กระบวนการทางจิตวิทยาในการย้ายถิ่นของคนเมืองกรุงสู่ชนบท. มนุษยศาสตร์สาร, 22(2),196-209
- กิตติพงษ์ รักไทย, ธีรวรรณ ธีระพงษ์, และ เพื่อนใจ รัตตากร. (2564). พฤฒพลัง: กรณีศึกษาผู้สูงอายุที่ออกกำลังกายในน้ำ. มนุษยศาสตร์สาร, 22(1), 108-120.
2563
- ภัทรพงศ์ ธรรมรงค์ปรีชาชัย, ธีรวรรณ ธีระพงษ์., และวีรวรรณ วงศ์ปิ่นเพ็ชร. (2563). อิทธิพลของความเมตตากรุณาต่อตนเองที่มีต่อความกรุณาต่อผู้อื่นและความสุขของจิตอาสาในกรุงเทพมหานครและเขตปริมณฑล. มนุษยศาสตร์สาร, 21(2), 84-102.
2562
- Teerapong, T & Sanuwit, A. (2019). A Model Development and Feasibility Study of Mindfulness and Human Development Curriculum for International Master Degree Students. International Journal of Management and Applied Science, 5(9), 131-135.
- ผ่องนภา คิดหา และ ธีรวรรณ ธีระพงษ์. (2562). ความสุขของผู้สูงวัย: ความหมายจากการงาน. มนุษยศาสตร์สาร, 20(3), 174-199.
- กาญจนา เชื้อเมืองพาน และ ธีรวรรณ ธีระพงษ์. (2562). ผลของโปรแกรมพัฒนาการสื่อสารที่มีต่อความสามารถในการสื่อสารของจิตอาสาดูแลผู้ป่วยในชุมชน อำเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย. มนุษยศาสตร์สาร, 20(1), 214-239.
- พงศ์อำมาตย์ อุเทนสุต และ ธีรวรรณ ธีระพงษ์. (2562). ผลของการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนวคิดการบำบัดด้วยการยอมรับและพันธสัญญาต่อความสอดคล้องในตนเองของนักจิตวิทยาการปรึกษาฝึกหัด. มนุษยศาสตร์สาร, 20(1), 240-270.
2560
- พิราภรณ์ มาลาโรจน์ และ ธีรวรรณ ธีระพงษ์. (2560). อาชีพอิสระ: เสรีภาพของเจตจำนงและความหมายของชีวิต. วารสารมนุษยศาสตร์สาร, 18(1), 232-264.
2558
- Chatwiboon Peijsel, Teerawan Teerapong & Pimchanok Kreasusukon. (2015). The Effects of Mindfulness Practice on Happiness. Journal of Social Sciences & Humanities, 41(1), 167-180.
2557
- ธีรวรรณ ธีระพงษ์, พีระเทพ รุ่งคุณากร และสหรัฐ เจตมโนรมย์ . (2557). การพัฒนานักจิตวิทยาการปรึกษาด้วยกลุ่มพัฒนาตน. วารสารจิตวิทยาคลินิก, 47(1). 36-48.
2556
- สำราญ ฉิมนอก, สรินยา ศรีเพชราวุธ และ ธีรวรรณ ธีระพงษ์. (2556) ความงอกงามหลังเผชิญเหตุการณ์เจ็บปวดทางใจในกลุ่มบุคคลที่ติดเชื้อเอชไอวี. วารสารกิจกรรมบำบัด, 18(3), 20-34.
2555
- ศิริพร ยาวิราช, ธีรวรรณ ธีระพงษ์, และชโลทร ศรีมณี. (2555). ผลของการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนว Trotzer ที่มีต่ออิสระแห่งตนของวัยรุ่นที่เข้ารับการบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติดในรูปแบบชุมชนบำบัด. วารสารจิตวิทยาคลินิก, 43(2). 19-32.
- พัทธ์รดา ยาประเสริฐ, เสรี ใหม่จันทร์, และธีรวรรณ ธีระพงษ์. (2555). การพัฒนาแบบวัดความหวังของเยาวชนไทยภาคเหนือ. วารสารจิตวิทยาคลินิก, 43(2). 33-45.
- ทักษิณา เมืองใจ และธีรวรรณ ธีระพงษ์, (2555). ความสามารถในการพยากรณ์ร่วมกันของการควบคุมตนเอง ความรู้เรื่องเพศศึกษาและการสื่อสารกับครอบครัว เรื่องการคบเพื่อนต่างเพศที่มีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศของนักเรียนหญิงวัยรุ่น. วารสารจิตวิทยาคลินิก, 43(1). 30-42.
2554
- กานต์ชนก แซ่อุ่ย และ ธีรวรรณ ธีระพงษ์. (2554). ปัจจัยพยากรณ์ภาวะหมดไฟในการทำงานของผู้ให้การปรึกษาในเขตภาคเหนือ. วารสารจิตวิทยาคลินิก, 42(2), 19-31.
- ปิยากรณ์ กันเกตุ, ธีรวรรณ ธีระพงษ์, และ ชโลทร ศรีมณี. (2554). ความสุขและทักษะทางสังคมของเยาวชนจังหวัดเชียงใหม่ที่มีระดับจิตอาสาแตกต่างกัน. วารสารจิตวิทยาคลินิก, 42(2), 7-18.
- กรรณิกา มาโน, สรินยา ศรีเพชราวุธ, และ ธีรวรรณ ธีระพงษ์. (2554). ความหมายของชีวิตกับจิตอาสา. วารสารกิจกรรมบำบัด, 16(1), 1-16.
- ศิริธร เรียบสันเทียะ, ธีรวรรณ ธีระพงษ์, และ เพื่อนใจ รัตตากร. (2554). ผลของโปรแกรมพัฒนาการเข้าถึงใจตามแนวคิดของโรเจอร์สที่มีต่อการลดพฤติกรรมก้าวร้าวของวัยรุ่น. วารสารกิจกรรมบำบัด, 16(1), 17-27.
- นพปฏล พงศ์ศิริวรรณ และ ธีรวรรณ ธีระพงษ์. (2554). การปฏิบัติเพื่อพัฒนาความเมตตา: กรณีศึกษานักบวชสถานปฏิบัติธรรมหมู่บ้านพลัม. มนุษยศาสตร์สาร,13(2),190-200.
- ฐิชารัศม์ พยอมยงค์ และ ธีรวรรณ ธีระพงษ์. (2554). ผลของการให้คำปรึกษาแบบบุคคลเป็นศูนย์กลางตามแนวคิดของโรเจอรส์ที่มีต่อความรู้สึกเห็นคุณค่าในตนเองและความเข้มแข็งทางจิตใจของเด็กด้อยโอกาส. มนุษยศาสตร์สาร, 13(2), 201-210.
2553
- อนุพงศ์ แก้วของแก้ว และ ธีรวรรณ ธีระพงษ์. (2553). การให้การปรึกษาแบบบุคคลเป็นศูนย์กลางตามแนวคิดของโรเจอร์สเพื่อเพิ่มอัตมโนทัศน์ของผู้ต้องขัง. มนุษยศาสตร์สาร, 11(1), 16-30.
2552
- พิมพ์มาศ ตาปัญญา และ ธีรวรรณ ธีระพงษ์. (2552). การเปรียบเทียบความฉลาดทางอารมณ์ของนักศึกษา คณะมนุษยศาสตร์. มนุษยศาสตร์สาร, 10(1), 52-80.
2547
- แสงสุรีย์ สำอางค์กูล, ธีรวรรณ ธีระพงษ์, ศิริพรรณ ธนสิน. (2547, กรกฎาคม-ธันวาคม). ผลการฝึกอบรมการพัฒนาตนแนวพุทธที่มีต่อจิตลักษณะและพฤติกรรมบางประการของบุคลากรมหาวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่. มนุษยศาสตร์สาร, 5(2),14 – 31.
2544
- ธีรวรรณ ธีระพงษ์. (2544). วิปัสสนาภาวนากับการปรึกษาทางจิตวิทยา. มนุษยศาสตร์สาร, 2 (1), 94-101.
2542
- ธีรวรรณ ธีระพงษ์. (2542). ความหลากหลายของสติปัญญา. วารสารโรงพยาบาลประสาท, 18 (2) (ก.ค.-ธ.ค.), 16-30.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พิมพ์ชนก เครือสุคนธ์
2554 – Ph.D. Psychology (Freie Universität Berlin, Germany)
2540 – วทม. จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
2534 – ศศบ. สื่อสารมวลชน (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
ประวัติการทำงาน
2540 – ปัจจุบัน
- อาจารย์ประจำ ภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์
ความเชี่ยวชาญ
วิชาที่สอน: จิตวิทยาทั่วไป, จิตวิทยาผู้บริโภค, จิตวิทยาสุขภาพและความผาสุกในการทำงาน
ผลงานวิชาการ
2562
- วีรวรรณ วงศ์ปิ่นเพ็ชร์, ชูชัย สมิทธิไกร, พิมพ์ชนก เครือสุคนธ์ และ พงษ์จันทร์ ภูษาพานิชย์ (2562) ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่มีผลต่อความจงรักภักดีของนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปี 2561
2561
- พิมพ์ชนก เครือสุคนธ์, พงษ์จันทร์ ภูษาพานิชย์, วีรวรรณ วงศ์ปิ่นเพ็ชร์ และ ชูชัย สมิทธิไกร (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจต่อการบริการกับความผูกพันต่อมหาวิทยาลัยของนักศึกษา: บทบาทการเป็นตัวแปรสื่อของการรับรู้ภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัย. ใน การประชุมวิชาการปัญญาภิวัฒน์ระดับชาติ ครั้งที่ 8 (น. F55 – F67). กรุงเทพฯ: สถาบันปัญญาภิวัฒน์.
2560
- พงษ์จันทร์ ภูษาพานิชย์ ชูชัย สมิทธิไกร วีรวรรณ วงศ์ปิ่นเพ็ชร์ และพิมพ์ชนก เครือสุคนธ์. (2560). รายงานการวิจัย เรื่อง ปัจจัยพยากรณ์ความผูกพันของนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2558
- Peijsel, C., Teerapong, T., & Kreausukon, P. (2015). The effects of mindfulness practice based on Plum village approach on happiness. Journal of Social Sciences & Humanities, 41(1), 167-180.
- พงษ์จันทร์ ภูษาพานิชย์, และ พิมพ์ชนก เครือสุคนธ์. (2558). รายงานการวิจัย เรื่อง การสำรวจความต้องการศึกษาต่อปริญญาเอก สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ. คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ผลงานบริการวิชาการ
- ผู้ทรงคุณวุฒิในการพิจารณาเครื่องมือในการวิจัยต่างๆ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.เสรี ใหม่จันทร์
2552 – การศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาจิตวิทยาการให้คำปรึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
2548 – วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาการให้คำปรึกษา มหาวิทยาลัยอัสสัมชัญ
2539 – ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
2526 – การศึกษาบัณฑิต (เกียรตินิยม) สาขาภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
ประวัติการทำงาน
2553 – ปัจจุบัน
- อาจารย์ประจำภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2560 – 2563
- หัวหน้าภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2530 – 2553
- พนักงานต้อนรับบนเครื่องบิน บริษัทการบินไทยจำกัด มหาชน
2526 – 2529
- อาจารย์ประจำภาควิชาภาษาอังกฤษ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ
ความเชี่ยวชาญ
- จิตวิทยาการปรึกษา (Counselling Psychology)
- จิตวิทยาการบริการและการสื่อสารข้ามวัฒนธรรม (Service Psychology and Cross-Cultural Communication)
- จิตวิทยาพัฒนาการ (Developmenatal Psychology)
- จิตวิทยาเชิงบวก (Possitive Psychology)
ผลงานวิชาการ
2563
- จิรภัทร์ มีโม, เสรี ใหม่จันทร์, แสงเดือน ยอดอัญมณีวงศ์. (2563). การปรับเปลี่ยนความเชื่อที่ไร้เหตุผลที่มีผลต่อการปรับตัวด้านสัมพันธภาพในครอบครัวของนักเรียนวัยรุ่น โดยการปรึกษารายบุคคลตามแนวคิดแบบพิจารณาเหตุผล อารมณ์และพฤติกรรม. วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต. หน้า 34-50.
2562
- Khamma, D., Maichan, S., (2019). Effects of Rational Emotive Behavior Group Counseling on the Assertiveness of Chiang Mai University Students., Proceeding of 238th The IIER International Conference, Taipei, Taiwan., R.K Printers, Bhubaneswar, India.
2561
- นพรุจน์ อุทัยทวีป, เสรี ใหม่จันทร์. (2561). ผลของการให้การปรึกษารายบุคคลตามแนวคิดของโรเจอร์ที่มีต่อการเข้าถึงใจของนักศึกษามหาวิทยาลัย. Proceeding ใน การประชุมวิชาการและการนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติทางจิตüิทยาประจําปี 2561: หลากหลายอย่างกลมกลืนในมุม (มอง) จิตวิทยา. กรุงเทพมหานคร. หน้า 487.
2560
- ปรีชา ขยัน, เสรี ใหม่จันทร์. (2017). การเสริมสร้างความหวังของนักศึกษามหาวิทยาลัย โดยใช้การให้การปรึกษากลุ่มแบบผสมผสาน, วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 สิงหาคม, หน้า 161-175.
2557
- เสรี ใหม่จันทร์. (2557). ปัจจัยพยากรณ์เจตคติต่อการใช้บริการการปรึกษาเชิงจิตวิทยาของนักศึกษามหาวิทยาลัย: การใช้ทฤษฎีแรงจูงใจป้องกันตนเอง. วารสารจิตวิทยาคลินิก, 45(1), 20-34.
ผลงานบริการวิชาการ
- ทักษะ ทฤษฎี และแนวปฏิบัติการปรึกษาเชิงจิตวิทยา
- จิตวิทยาการบริการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ไชยันต์ สกุลศรีประเสริฐ
ปร.ด. (สังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข) แขนงวิชาจิตวิทยาสุขภาพ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
วท.ม. (จิตวิทยาคลินิก) คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล
ว.บ.(จิตวิทยา) คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ประวัติการทำงาน
2554 – ปัจจุบัน
- อาจารย์ประจำภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2552-2553
- นักจิตวิทยาคลินิกและนักวิจัยโครงการพัฒนาสติปัญญาเด็กไทย สถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์
ความเชี่ยวชาญ
- การวัดทางจิตมิติ (psychometric properties)
- สุขภาพจิต พฤติกรรมเสี่ยงในวัยรุ่นและนักศึกษา
- จิตบำบัดรายบุคคลและรายกลุ่ม
ผลงานวิชาการ
2563
- อารยา ผลธัญญา, จรรยพร เจียมเจริญกุล, กุลวดี ทองไพบูลย์, ไชยันต์ สกุลศรีประเสริฐ, สิรี อุดมผล, ศิวพร ตุ้ยเต็มวงศ์, วรรณสิริ ปัญโญ และสาวิกา ไชยบุญญารักษ์. (2563). การตรวจสอบโครงสร้างองค์ประกอบของแบบทดสอบมาตรฐานวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสำหรับผู้เรียนไทย. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 65(2), 117-130.
- ธัญพิชชา แสนนรินทร์ม ไชยันต์ สกุลศรีประเสริฐ และกุลวดี ทองไพบูลย์ (2563). การตรวจสอบคุณสมบัติการวัดทางจิตวิทยาของมาตรวัดความยืดหยุ่นทางจิตใจในวัยรุ่น. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 65(1), 25-36.
2561
- ไชยันต์ สกุลศรีประเสริฐ (2561). ตัวตน อัตลักษณ์การดื่มและแบบแผนการดื่มสุรา: เรื่องเล่าประสบการณ์การดื่มสุราของชีวิตภายใต้รั้วมหาวิทยาลัย. ใน สิทธิโชค ชาวไร่เงิน และ บงกช เจริญรัตน์ (บรรณาธิการ) (2561). งานวิจัยวัฒนธรรมกับความเสี่ยงสุขภาพ: สุรา ยาสูบ.(น.13-43). นนทบุรี: สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข.
2560
- ไชยันต์ สกุลศรีประเสริฐ, อารยา ผลธัญญา, ทัศนีย์ หอมกลิ่น, กุลวดี ทองไพบูลย์, พิมพ์มาศ ตาปัญญา, รติพันธ์ ถาวรวุฒิชาติ. (2560). ความตรงและความเที่ยงของแบบสอบถามแรงจูงใจในการดื่มสุราฉบับปรับปรุงในนักศึกษามหาวิทยาลัย. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 62(3), 223-232.
2559
- Sakulsriprasert, C., Phukao, D., Kanjanawong, S., & Meemon, N. (2016). The reliability and factor structure of Young Schema Questionnaire-Short Form-3. Asian Journal of Psychiatry, 24, 85-90.
2558
- ไชยันต์ สกุลศรีประเสริฐ (2558). การวัดรูปแบบความรู้สึกผูกพัน: จากอดีตสู่ปัจจุบันและทิศทางในอนาคต. วารสารจิตวิทยาคลินิก, 46(2), 61-81.
2557
- พิมพ์มาศ ตาปัญญา, ไชยันต์ สกุลศรีประเสริฐ, ศจีแพรว โปธิกุล (2557). การศึกษาเปรียบเทียบการทำงานของสมองด้านการทำหน้าที่เชิงบริหารจัดการในนักศึกษามหาวิทยาลัยที่มีรูปแบบการดื่มแอลกอฮอล์และเพศที่แตกต่างกัน. วารสารจิตวิทยาคลินิก, 45(2), 10-22.
- ไชยันต์ สกุลศรีประเสริฐ. (2557). การพัฒนาและการศึกษาคุณสมบัติการวัดทางจิตวิทยาของมาตรวัดปัญหาจากการดื่มสุราสำหรับนักศึกษา. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 59(4), 355-369.
2556
- ไชยันต์ สกุลศรีประเสริฐ. (2556). การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน. วารสารจิตวิทยาคลินิก 44(1), 1-16.
2551
- ไชยันต์ สกุลศรีประเสริฐ, กนกรัตน์ สุขะตุงคะ, & เธียรชัย งามทิพย์วัฒนา. (2551). บุคลิกภาพกับความเสี่ยงต่อการเกิดปัญหาจากการใช้สุราของนักศึกษาอุดมศึกษา. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 53(4), 355-386.
ผลงานบริการวิชาการ
- บรรณาธิการวารสารจิตวิทยาคลินิกไทย (พศ.2562-2563)
- คณะกรรมการสมาคมนักจิตวิทยาคลินิกไทย (พศ.2558-2563)
- เลขานุการคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคน สำนักงานคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
- คณะกรรมการการแนะแนวและให้คำปรึกษานักศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
- คณะกรรมการหอพัก มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (ผู้เชี่ยวชาญเรื่องสุขภาพจิต)
- ผู้ทบทวนและผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความและงานวิจัยของวารสารในฐานข้อมูลไทยและต่างประเทศ
- วิทยากรในด้าน การวัดทางจิตมิติ การวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ สุขภาพจิต จิตบำบัด แก่มหาวิทยาลัย โรงพยาบาลและหน่วยงานของภาครัฐ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อิสระ บุญญะฤทธิ์
วิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต (การวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (MUA Ph.D. scholarship, Sandwich program at Sheffield Hallam University, UK and East-West Center, Hawai’i, USA)
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (จิตวิทยาอุตสาหกรรม) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
วิทยาศาสตรบัณฑิต เกียรตินิยมอันดับสอง (จิตวิทยา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ประวัติการทำงาน
2555 – ปัจจุบัน
- อาจารย์ประจำภาควิชาจิตวิทยาและคณะกรรมการบริหารหลักสูตรปริญญาโทสาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2546 – 2550
- เจ้าหน้าที่อาวุโสวางระบบงานพัฒนาบุคคล สำนักพัฒนาบุคคลและระบบคุณภาพ บริษัท ซีพีเซเว่นอีเลฟเว่น จำกัด (มหาชน) ปัจจุบันชื่อบริษัท ซีพีออลล์ จำกัด(มหาชน)
ความเชี่ยวชาญ
- Occupational testings
- Psychometrics, quantitative research methodology, and statistics in psychological research – Applying Structural Equation Modelling and Bootstrap method
- Applying the network psychometrics in people analytics and organizational behaviors
- Forgiveness within the work context
- Positive organisational psychology
- Self-Leadership
- Psychology of risk-health and environmental issues
ผลงานวิชาการ
selected publications:
2561
- Chongvisal, R., & Boonyarit, I. (2018). An action research approach towards development of spirituality among Thai university students. The Journal of Behavioral Science, 13(2), 19-37.
2560
- Boonyarit, I. (2017). Assessing Forgiveness in Interpersonal Conflict Among Thai Emerging Adults: The Peer Forgiveness Scale (PFS). International Journal of Behavioral Science, 12(2). 1-18.
- Tevichapong, P., Boonyarit, I., Smithikrai, C., & Pusapanich, P. (2017, May). Job Resources Matter? Their Influence on Work Engagement and Organizational Commitment Among Academic Staff. Paper presented at the 9th International Conference on Humanities and Social Sciences, Songkhla, Thailand.
2557
- อิสระ บุญญะฤทธิ์. (2557). จิตวิทยาเชิงบวกกับการเผชิญปัญหาสัมพันธภาพระหว่างบุคคลในการทำงาน. ใน วิชุดา กิจธรธรรม (บก.), รวมบทความวิธีวิทยาและทฤษฎีเพื่อการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์ในองค์กร. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
2556
- Boonyarit, I., Chuawanlee, W., Macaskill, A., & Supparerkchaisakul, N. (2013). Psychometric analysis of the Workplace Forgiveness Scale. Europe’s Journal of Psychology, 9(2), 319-338. doi:10.5964/ejop.v9i2.551
2555
- Boonyarit, I., Chuawanlee, W., Macaskill, A., & Supparerkchaisakul, N. (2012). Thai conceptualizations of forgiveness within a work context: Comparison with Western models. International Journal of Behavioral Science, 7(1), 1-28.
2553
- Boonyarit, I, Chomphupart, S., &Arin, N. (2010). Leadership, empowerment, and teacher’s attitude outcomes.The Journal of Behavioral Science. 5(1),1-14.
ผลงานบริการวิชาการ
- คณะกรรมการฝ่ายบริหารและส่งเสริมการวิจัย/เอกสารคำสอน/ตำรา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
- Ad Hoc Reviewer วารสารอาทิเช่น
- Measurement and Evaluation in Counseling and Development
- International Journal of Behavioral Science
- Journal of Nursing Measurement
- วารสารพฤติกรรมศาสตร์ (Journal of Behavioral Science)
- วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา (Journal of Behavioral Science for Development)
- European Review of Applied Psychology
- Asian Social Science
- Current Psychology
- International Journal of Leadership in Education
- SAGE Open
อื่นๆ
- Professional Qualifications & Experiences
- March 2019 to present, Register of Qualifications in Test Use (RQTU) – Occupational Test User (Ability and Personality) from British Psychological Society(BPS), UK.
- May 2014, Research Visiting, Fachbereich Psychologie, Abteilung Sozialpsychologie, Paris-Lodron-Universität Salzburg, Austria (Uni-Prof. Eva Jonas).
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภาสกร เตวิชพงศ์
2555 – Ph.D. (Work & Organizational Psychology), Aston University, United Kingdom (The Royal Thai Government Scholarship)
2549 – M.Sc.(Social & Organizational Psychology), University of Exeter, United Kingdom (The Royal Thai Government Scholarship)
2544 – วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ) คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2533 – บัญชีบัณฑิต คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ประวัติการทำงาน
2555 – ปัจจุบัน
- อาจารย์ประจำภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2561 – ปัจจุบัน
- ประธานกรรมการบริหารหลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2559 – ปัจจุบัน
- กรรมการบริหารหลักสูตร วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยศาสตร์การกีฬา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2546 – 2547
- อาจารย์ประจำสาขาวิชาจิตวิทยาองค์การ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
2535 – 2546
- นักวิชาการการเงินและบัญชี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2534 – 2535
- ผู้ตรวจสอบภายใน สำนักงานอธิการบดี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2533 – 2534
- ผู้ช่วยสมุห์บัญชี โรงแรมพรพิงค์ทาวเวอร์ จังหวัดเชียงใหม่
ความเชี่ยวชาญ
Spirit at work, Workplace spirituality, Positive psychology in the workplace, Social identity at work, Individual differences affecting organizational outcomes, and Psychological assessments in the organization.
ผลงานวิจัย ผลงานตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการระดับชาติและนานาชาติ
2564
- Svare, B., Pongruegphant, R., Thepmongkorn, S., Srisangkhajorn, T., Pornpattananangkul, D., Boonyasiriwat, W., Tevichapong, P., Ratchatawan, W., Nguyen, L., Chua- Garcia, L., & Reyes, M. L. (2021). Tips on scholarly publishing for psychology faculty and graduate students worldwide. International Psychology Bulletin, 25(1), 1-20. http://div52.net/ipb-2021-25-1/ Indexed in Science Citation Index (SCI)
2561
- Wollast, R., Puvia, E., Bernard, P., Tevichapong, P., & Klein, O. (2018). How Sexual Objectification Generates Dehumanization in Western and Eastern Cultures: A Comparison between Belgium and Thailand. Swiss Journal of Psychology, 77(2), 69-82. https://doi.org/10.1024/1421-0185/a000209 Indexed in Scopus, SCIE, PSYCLIT, PSYNDEX, PsycINFO
- ภาสกร เตวิชพงศ์. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างจิตวิญญาณในการทำงานกับผลการปฏิบัติงานพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การและความตั้งใจในการลาออกจากงาน ของพนักงานในองค์การที่หวังผลกำไรและองค์การที่ไม่หวังผลกำไร: บทบาทการเป็นตัวแปรสื่อของความพึงพอใจในงานและความพึงพอใจในชีวิต. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. ภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 127 หน้า. (ส่งเผยแพร่ห้องสมุด 7 แห่ง)
2558
- สุดารัตน์ แสงแก้ว. สฤษดิ์พงศ์ นิใจ. อัศนัย ธุรวติกุล และ ภาสกร เตวิชพงศ์. (2558). การพัฒนาแบบวัดการเปิดเผยตัวตนบนเครือข่ายสังคมออนไลน์ (เฟสบุ๊ค). วารสารวิชาการคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง. 8(2). หน้า 101-111. Indexed in: TCI Tier 1 https://doi.org/10.14456/itjlp.2015.20
2559
- วีรพงศ์ นวลศรี และ ภาสกร เตวิชพงศ์ (2559). การเปรียบเทียบความเครียดในงาน ความพึงพอใจในค่าตอบแทน และความผูกพันต่อองค์การเชิงอารมณ์ระหว่างเจ้าหน้าที่ผู้ดูแลผู้สูงอายุในหน่วยงานของรัฐและเอกชนในจังหวัดเชียงใหม่. วารสารจิตวิทยาคลินิก, 47(1), 48-62. Indexed in: TCI Tier 3 http://www.journalclinicpsy.org/JNfiles/2559A/2559A5full.pdf
2553
- Peters, K., Tevichapong, P., Haslam, A., & Postmes, T. (2010). Making the Organization Fly: Organizational Identification and Citizenship in Full-service and Low-cost Airlines. Journal of Personnel Psychology, 9(3), 145-148. https://doi.org/10.1027/1866-5888/a000013. Indexed in Scopus, PSYCLIT, PSYNDEX, PsycINFO, Social Sciences Citation Index (SSCI), Current Contents/Social and Behavioral Sciences (CC/S&BS), IBZ, and IBR.
การนำเสนอผลงานในที่ประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ
2563
- ฆายณีย์ นันตะรัตน์ และ ภาสกร เตวิชพงศ์. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความยุติธรรมในองค์การและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดี ขององค์การของพนักงานเทศบาล: บทบาทการเป็นตัวแปรสื่อของ การรับรู้การสนับสนุนจากองค์การ. การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติทางจิตวิทยา ประจำปี 2563 TNCP-2020 (หน้า 125-136), วันที่ 21-22 ตุลาคม 2563, โรงแรมเชียงใหม่แกรนด์วิว, เชียงใหม่.
2562
- ตันหยง แก้วขวัญข้า และภาสกร เตวิชพงศ์. (2562). บทบาทการเป็นตัวแปรสื่อของความภาคภูมิใจแห่งตนในองค์การในความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การสนับสนุนจากองค์การและความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับองค์การ. การประชุมวิชาการระดับชาติทางศิลปศาสตร์ประยุกต์ ครั้งที่ 8 (Best Paper Award) (หน้า 49-57), วันที่ 24 พฤษภาคม 2562, สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, กรุงเทพฯ.
- ชลัญญา ปัญญา และภาสกร เตวิชพงศ์. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้การสนับสนุนจากหัวหน้างานและผลการปฏิบัติงานของตัวแทนประกันชีวิต: บทบาทการเป็นตัวแปรสื่อของความผูกพันต่องานของทีม. การประชุมวิชาการระดับชาติ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 3 ประจำปี 2562 (หน้า 205-219), วันที่ 10 มิถุนายน 2562, คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ศาลายา นครปฐม.
- โศภิต สัจจปัญญาพิทักษ์ และภาสกร เตวิชพงศ์. (2562). บทบาทการเป็นตัวแปรสื่อของความผูกพันต่องานในความสัมพันธ์ระหว่างความมีอิสระในงานกับพฤติกรรมสร้างสรรค์นวัตกรรมของเจ้าหน้าที่การตลาด. การประชุมวิชาการระดับชาติ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ครั้งที่ 3 ประจำปี 2562 (หน้า 535-549), วันที่ 10 มิถุนายน 2562, คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, ศาลายา นครปฐม.
- จิดาภา ดวงทิพย์ และภาสกร เตวิชพงศ์. (2562). ปัจจัยพยากรณ์ความผาสุกทางจิตใจของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลเอกชนในจังหวัดเชียงใหม่. การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติทางจิตวิทยา ประจำปี 2562: TNCP-2019 (หน้า 220-231), วันที่ 24 มิถุนายน 2562, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.
2561
- Tevichapong, P. (2018). Impact of Individual Spirit at Work on Performance, Citizenship Behavior, and Turnover Propensity among Employees Working for For-profit and Nonprofit Organizations: Mediating Effects of Job Satisfaction and Life Satisfaction. Proceedings of the 9th International Academic Conference of Suan Sunandha Rajabhat University (pp.133-146), 20th March 2018, Bangkok, Thailand.
2560
- Tevichapong, P., Boonyarit, I., Smithikrai, C., & Pusapanich, P. (2017). Job resources matter? Their influence on work engagement and organizational commitment among academic staff. Proceeding of the 9th International Conference on Humanities and Social Sciences (pp. 386-403), 26th May 2017, (Second Best Paper Award), Songkhla, Thailand.
2559
- Tevichapong, P. (2016). The Causal Effect of Individual Spirit at Work on Performance, Citizenship Behavior, and Turnover Intention among Employees Working for For-profit and Not-for-profit Organizations: Mediating Roles of Job Satisfaction and Life Satisfaction. Paper presented at the 26thAnnual Conference of the National Academy of Applied Psychology on 29th to 31st December 2016, IIT Madras, Chennai, Tamil Nadu, India.
2558
- Sangkeaw, S., Nijai, S., Thuravatikul, A., & Tevichapong, P. (2015). Scale Development of Self-Disclosure through Online Social Network (Facebook). Paper presented at the 19thInternational Computer Science and Engineering Conference (ICSEC) on 23rd to 26th November 2015, Chiang Mai, Thailand.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐวุฒิ อรินทร์
2555 – วท.ด. (การวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
2547 – ศศ.ม. (อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม) มหาวิทยาลัยมหิดล
2540 – วท.บ. (จิตวิทยา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ประวัติการทำงาน
2555-ปัจจุบัน
- อาจารย์ประจำภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2553 – 2555
- นักจิตวิทยาคลินิกชำนาญการพิเศษ สถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์ กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข กรุงเทพมหานคร
2551 – 2552
- นักจิตวิทยาคลินิกชำนาญการ สถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์ กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข กรุงเทพมหานคร
2540 – 2550
- นักจิตวิทยา โรงพยาบาลนิติจิตเวช กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข กรุงเทพมหานคร
ความเชี่ยวชาญ
- นิติจิตวิทยาและนิติจิตเวช (Forensic Psychology and Psychiatry)
- อาชญาวิทยาคลินิก (Criminology/ Psychology of Criminal Behavior)
ผลงานวิชาการ
ผลงานวิจัย
2562
- Arin, N., & Khowboonngam, S. (2019). Detection strategies for feigned psychopathology: test development and effects of criminal charge simulation design on response styles. Journal of Forensic Psychiatry & Psychology,30(1),127-151.
- Chutintarangkul, P., & Arin, N. (2019). Factors Affecting Subjective Well-Being in Retirees: Quantitative and Qualitative Findings. Proceeding of the International Conference on Social Science, Arts, Business and Education (ICSSABE-19), 25th February 2019, Taichung, Taiwan. Pp.55-58.
2558
- ณัฐวุฒิ อรินทร์. (2558). สภาวะปัญหาสุขภาพจิตและทัศนคติต่อการขอรับความช่วยเหลือทางด้านจิตใจจากนักวิชาชีพสุขภาพจิตของนักศึกษามหาวิทยาลัย. วารสารจิตวิทยาคลินิก,46(1),16-29.
2557
- อิทธิพล สูงแข็ง, ณัฐวุฒิ อรินทร์. (2557). การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันความงอกงามทางจิตใจภายใต้เหตุการณ์ความไม่สงบของบุคลากรสาธารณสุขในสามจังหวัดชายแดนใต้.วารสารวิชาการสาธารณสุข, 23(6),967-974.
- อมราพร สุรการ, ณัฐวุฒิ อรินทร์. (2557). การดูแลสุขภาพจิต: การมีส่วนร่วมของชุมชน (Mental Health Care: The Participation Of The Community). วารสารมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี). 6(12), 176-184.
2556
- ณัฐวุฒิ อรินทร์. (2556). การทำหน้าที่ตัวแปรคั่นกลางของทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกที่มีอิทธิพลต่อสุขภาวะทางจิตและพฤติกรรมการปฏิบัติงานของบุคลากรสาธารณสุขในจังหวัดชายแดนใต้.วารสารพฤติกรรมศาสตร์. 19(1), 99 -117.
- ณัฐวุฒิ อรินทร์. (2556). การศึกษาแบบทดสอบการแกล้งมีความบกพร่องด้านความจำในผู้รับบริการตรวจวินิจฉัยทางนิติจิตเวชและจิตเวช. วารสารจิตวิทยาคลินิก. 44(2),47-60
2553
- ณัฐวุฒิ อรินทร์. (2553).การศึกษาติดตามผลการประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดพฤติกรรมรุนแรงของผู้ป่วยนิติจิตเวชหลังจำหน่าย. กรุงเทพฯ: รายงานวิจัยสถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์ กรมสุขภาพจิต.
- ณัฐวุฒิ อรินทร์. (2553). ตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อความตั้งใจที่จะขอรับความช่วยเหลือด้านสุขภาพจิตจากนักสุขภาพจิตของนิสิตมหาวิทยาลัย. วารสารพฤติกรรมศาสตร์. 16(1), 82 -101.
2548
- ณัฐวุฒิ อรินทร์. (2548). ความสามารถรู้ผิดชอบขณะประกอบอาชญากรรม และวิธีการเพื่อความปลอดภัยของผู้ป่วยนิติจิตเวช : กรณีศึกษาคดีฆ่าบุพการี. กรุงเทพฯ: รายงานวิจัยสถาบันกัลยาณ์ราชนครินทร์ กรมสุขภาพจิต.
การนำเสนอ Oral Presentation ระดับนานาชาติ
2562
- Arin, N. (2019). Effect of Coaching Related Incompetency to Stand Trial on Symptom Validity Test: Robustness, Sensitivity and Specificity. Paper presentation at ICFSCL 2019 : 21st International Conference on Forensic Sciences and Criminal Law, Tokyo, Japan, May, 27-28, 2019.
2560
- Arin, N. (2017). Detection Strategies for Feigned Psychopathology: Test Development and Effects of Criminal Simulation Design on Response Styles. The 2nd International Congress on Forensic Science and Psychology Theme: Alter the minds to alter their attitudes of living : Forensic Psychology, October 12-13, 2017, London, UK.
2558
- Arin, N. (2015). Psychological Distress and Attitudes Toward Seeking Professional Help Among University Students. Paper presentation at The Asian Conference on Psychology and the Behavioral Sciences 2015: ACP 2015. Osaka, Japan, Thursday, March 26 – Sunday, March 29, 2015
2555
- Arin, N. (2012). Risk Assessment And Violent Outcomes In Forensic Psychiatric Patients Discharged From A Forensic Unit In Thailand. Paper presented at The 14th Johor Mental Health Convention, Malaysia.
- Arin, N. (2012). Performance on the Test of Memory Malingering among Thai Forensic and Non-forensic Samples. Paper presented at The Asian Conference on the Social Sciences, Osaka, Japan.
- Arin, N. (2012). Posttraumatic Growth as A Positive Changes and Its Measuring Among Public Health Officers in Southern Border Provinces of Thailand: A Second – order Confirmatory Factor Analysis. Paper presented at The 10th International Conference of Mental Health, Bangkok, Thailand.
2554
- Arin, N. (2011). Psychological Capital: A Preliminary Study Among Public Health Officers Working Under The Adverse Situation In Southern Border Provinces of Thailand. Paper presented at The Asian Conference on the Social Sciences, Osaka, Japan.
2553
- ณัฐวุฒิ อรินทร์. (2553). ความเที่ยงและความตรงของแบบประเมินความสามารถ
- รู้ผิดชอบของผู้กระทำผิดนิติจิตเวช. นำเสนอในการประชุมวิชาการสุขภาพจิตนานาชาติ ครั้งที่ 9, ประจำปี 2553, กรุงเทพมหานคร.
2552
- Arin, N. (2009). Factors Affecting the Intention for Seeking Professional Psychological Help among Thai University Students. Paper presented at The 6th International Postgraduate Research Colloquium at Srinakharinwirot University, Thailand.
- ณัฐวุฒิ อรินทร์. (2552). การประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดพฤติกรรมรุนแรงในผู้ป่วยนิติจิตเวช: ความเชื่อมั่น ความเที่ยงตรงเชิงทำนาย และพัฒนาคู่มือวิธีการใช้. นำเสนอในการประชุมวิชาการสุขภาพจิตนานาชาติ ครั้งที่ 8, ประจำปี 2552, กรุงเทพมหานคร.
2551
- Boonyarit, I., Chomphupart, S., & Arin, N. (2008). Structural Relationship between Transformational Leadership, Empowerment, and Teachers’ Attitude Outcomes. Paper presented at The 5th International Postgraduate Research Colloquium at International Islamic University Malaysia (IIUM), Malaysia.
หนังสือ/คู่มือ
2554
- ณัฐวุฒิ อรินทร์. (2554). คู่มือการใช้แบบประเมินความเสี่ยงต่อการเกิดพฤติกรรมรุนแรง.พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: บียอนด์ พลับบลิชชิ่ง.
รางวัลงานวิจัย
- รางวัลผลงานด้านการวิจัย และพัฒนาระบบพฤติกรรมไทย ประจำปี 2556 ระดับ ชมเชย จากคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
ผู้ช่วยศาสตราจารย์พงษ์จันทร์ ภูษาพานิชย์
2534- วทม. (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรม) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน
2531- วทบ. (วิทยาศาสตรบัณฑิต เกียรตินิยมอันดับ 2 สาขาวิชาจิตวิทยา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ประวัติการทำงาน
2534-ปัจจุบัน
- ภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ความเชี่ยวชาญ
- จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ
ผลงานวิชาการ
บทความทางวิชาการ งานวิจัยระดับชาติและนานาชาติ
2562
- วีรวรรณ วงศ์ปิ่นเพ็ชร์, พงษ์จันทร์ ภูษาพานิชย์, ชูชัย สมิทธิไกร, และ พิมพ์ชนก เครือสุคนธ์. (2562). ความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของปัจจัยที่มีผลต่อความจงรักภักดีของนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วารสารศึกษาศาสตร์, 30(1), 24-37.
2561
- Smitithikrai, C., Homklin, T., Pusapanich, P., Wongpinpech, V. & Kreausukon, P. (2018). Factors influencing students’ academic success: The mediating role of study engagement. International Journal of Behavioral Science, 13(1), 1-14.
2560
- Tevichapong, P., Boonyarit, I., Smithikrai, C., & Pusapanich, P. (2017). Job resources matter? Their influence on work engagement and organizational commitment among academic staff. Proceeding of the 9th International Conference on Humanities and Social Sciences, 26th May 2017, Songkhla, Thailand.
- ชูชัย สมิทธิไกร และ พงษ์จันทร์ ภูษาพานิชย์. (2017). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความผูกพันต่องานและความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรมหาวิทยาลัยเชียงใหม่, Kasetsart Journal of Social Sciences, 38, 655-667.
- พงษ์จันทร์ ภูษาพานิชย์, วีรวรรณ วงศ์ปิ่นเพ็ชร์ , ชูชัย สมิทธิไกร, และพิมพ์ชนก เครือสุคนธ์. (2560). ปัจจัยพยากรณ์ความผูกพันของนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่: ภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2559
- ชูชัย สมิทธิไกร และ พงษ์จันทร์ ภูษาพานิชย์. (2559). ความผูกพันต่องานและความผูกพันต่อองค์การของบุคลากรมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่: คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
2558
- พงษ์จันทร์ ภูษาพานิชย์ และ พิมพ์ชนก เครือสุคนธ์. (2558). ความต้องการศึกษาต่อปริญญาเอก สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่: คณะ มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
2554
- ชูชัย สมิทธิไกร, พงษ์จันทร์ ภูษาพานิชย์, นิทราพร อุตตโม, ประพัฒน์ พิละกันทา, และ สุภาภรณ์ มโนรส. (2554). การศึกษาความพึงพอใจและปัญหาเกี่ยวกับโครงสร้างการบริหารงานของคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่: ภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2553
- พงษ์จันทร์ ภูษาพานิชย์. (2553). คุณลักษณะของบุคคล การรับรู้การสนับสนุนจากองค์การ ความสามารถของตนด้านอาชีพ ความพึงพอใจในงานกับความตั้งใจลาออกจากงานของ พนักงานมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. เชียงใหม่: ภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
2548
- พงษ์จันทร์ ภูษาพานิชย์, ดลฤดี บุรกสิกร, ศิริพรรณ ธนสิน, ศิริลักษณ์ ไทรหอมหวล, และ พิมพ์ชนก เครือสุคนธ์. (2548). การรับรู้ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ที่มีต่อการเรียนการสอนกระบวนวิชาจิตวิทยาทั่วไป. เชียงใหม่: ภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์.
2546
- พงษ์จันทร์ ภูษาพานิชย์. (2546). ออกแบบงานอย่างไรเพื่อสร้างแรงจูงใจภายในงาน. มนุษยศาสตร์สาร, 4(1).
หนังสือ/คู่มือ
2561
- พงษ์จันทร์ ภูษาพานิชย์. (2561). เอกสารคำสอนแรงจูงใจในการทำงาน. เชียงใหม่: ภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
2547
- พงษ์จันทร์ ภูษาพานิชย์. (2547). จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ. เชียงใหม่: ภาควิชาจิตวิทยา คณะ มนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
2545
- พงษ์จันทร์ ภูษาพานิชย์. (2545). เอกสารประกอบการสอน กระบวนวิชา 013431: จิตวิทยาการ ฝึกอบรม. เชียงใหม่: ภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ผลงานบริการวิชาการ
- ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือการวิจัย ประเมินคุณภาพของงานวิจัย
อื่นๆ
AREAS OF INTEREST
Research: Motivation in Organizations; Work Engagement; Work Attitudes
Teaching: Psychological Measurement; Inferential Statistics; Industrial and Organizational Psychology; Work Motivation; Industrial and Organizational Psychology Practicum; Industrial and Organizational Psychology Seminar (Undergraduate) Psychology of work motivation (Graduate)
อาจารย์ ดร.ฉัตรวิบูลย์ ไพจ์เซล
PhD. (Psychology), University of Leicester, United Kingdom
ประวัติการทำงาน
2553 -ปัจจุบัน
- อาจารย์ประจำภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2548 -2552
- ที่ปรึกษาทางจิตวิทยา สมาคมสยาม (Stiching Siam) ประเทศเนเธอร์แลนด์
2544- 2548
- อาจารย์ประจำ คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัยตำแหน่ง ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการ กรรมการและเลขานุการบริหารคณะหัวหน้าศูนย์บริการวิชาการและทรัพย์สินทางปัญญา หัวหน้าศูนย์การวัดและประเมินทางจิตวิทยา
2540-2543
- รองผู้อำนวยการกองมาตรฐานการบริการ สำนักงานใหญ่ ห้างสรรพสินค้าโรบินสัน มหาชน รองผู้จัดการทั่วไป ห้างสรรพสินค้าโรบินสัน สาขาบางรัก
2532-2535
- พยาบาลประจำการ แผนกผู้ป่วยหนักแรกเกิด (Neonatal ICU) โรงพยาบาลมหาราช นครเชียงใหม่
ความเชี่ยวชาญ
Mindfulness, Emotion, Positive Psychology
ผลงานวิชาการ
ผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่ระดับชาติและนานาชาติ
2561
- Peijsel, C., & Maltby, J. (2018). Trait Mindfulness and Cognitive Emotion Regulation: An Investigation as to the Relationship with Emotional States in The US and Thailand. Poster Presentation at the International Conference on Mindfulness (ICM) 2018 in Amsterdam, The Netherlands, 10-13 July 2018.
2559
- Peijsel, C., & Maratos, E., & Maltby, J. (2016). The relationship between mindfulness and well-being: An emotional reactivity study. Poster Presentation at the Psychology PGR Annual Conference. University of Leicester, United Kingdom.
2558
- Smithikrai, C., Longthong, N., & Peijsel, C. (2015). Effect of Using Movies to Enhance Personal Responsibility of University Students. Asian Social Science, 11(5), 1-9.
- Peijsel, C., Teerapong, T., & Kreausukon, P. (2015). The Effects of Mindfulness Practice on Happiness. Journal of Social Sciences & Humanities. 41(1), 167-180.
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อารยา ผลธัญญา
2555 – ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต (สาขาวิชาจิตวิทยา แขนงวิชาจิตวิทยาพัฒนาการ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
2550 – ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2548 – วิทยาศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ 1 จิตวิทยาคลินิก) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ประวัติการทำงาน
ปัจจุบัน
- อาจารย์ประจำภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2560-2562
- ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายแผนและประกันคุณภาพการศึกษา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2555
- อาจารย์ประจำภาควิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ความเชี่ยวชาญ
จิตวิทยาพัฒนาการ จิตวิทยาคลินิก จิตวิทยาเด็ก
ผลงานวิชาการ
2564
- อารยา ผลธัญญา และกุลวดี ทองไพบูลย์. (2564). บาดแผลทางจิตใจ : การคัดกรองและการประเมินผู้ได้รับผลกระทบสำหรับนักจิตวิทยาคลินิก. วารสารจิตวิทยาคลินิก, 52, 41-61.
2563
- อารยา ผลธัญญา, จรรยพร เจียมเจริญกุล, กุลวดี ทองไพบูลย์, ไชยันต์ สกุลศรีประเสริฐ, สิรี อุดมผล, ศิวพร ตุ้ยเต็มวงศ์, วรรณสิริ ปัญโญ และสาวิกา ไชยบุญญารักษ์. (2563). การตรวจสอบโครงสร้างองค์ประกอบของแบบทดสอบมาตรฐานวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสำหรับผู้เรียนไทย. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 65(2), 117-130.
- อารยา ผลธัญญา, ณฐวัฒน์ ล่องทอง & ทัศนีย์ หอมกลิ่น. (2563). การประเมินความต้องการจำเป็นในการพัฒนาทักษะการบำบัดฟื้นฟูเยียวยาเด็กที่ถูกกระทำด้วยความรุนแรงของบุคลากรบ้านพักเด็กและครอบครับ. วารสารจิตวิทยาคลินิก, 51(2), 28-39.
- กัมพล ใหม่จันทร์ดี และอารยา ผลธัญญา. (2563). พลวัตความผูกพันทางอารมณ์กับคู่รักของบุคคลที่เคยมีประสบการณ์เลวร้ายในวัยเด็ก. วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย, 28(3), 221-230.
2562
- Pontanya, A. (2019). The Development of the resilience questionnaire for elementary school students: a confirmatory factor analysis. Proceeding of The Asian Conference on Psychology & the Behavioral Sciences (pp. 133-145). Tokyo: Japan.
- ปภิศา แก้วคำฟู, อารยา ผลธัญญา และสรินยา ศรีเพชราวุธ. (2562). การยอมรับของผู้ปกครองต่อบุตรที่มีภาวะออทิสติก. วารสารจิตเวชวิทยาสาร, 35(1), 1-16.
- ธนวัฒน์ มณี และอารยา ผลธัญญา. (2562). การพัฒนาและตรวจสอบคุณภาพมาตรวัดความหวังในตนเองสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน. วารสารจิตวิทยาคลินิก, 50(2), 1-16.
- พรวรรณ อินอุดออน, ชิดชนก เรือนก้อน, กันยารัตน์ คอวนิช และอารยา ผลธัญญา. (2562). ภาวะน้ำหนักเกินกับภาวะซึมเศร้าและการเห็นคุณค่าในตนเองของเด็กนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาตอนปลาย. วารสารจิตเวชวิทยาสาร, 35, 63-74.
- รัญชิดา ซุ้นจ้าย, อารยา ผลธัญญา, และกุลวดี ทองไพบูลย์. (2562). ความเหงาในนักศึกษาที่มีพฤติกรรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์. วารสารจิตวิทยาคลินิก, 50(2), 29-44.
2561
- ณฐวัฒน์ ล่องทอง, อารยา ผลธัญญา และทัศนีย์ หอมกลิ่น. (2561). การจัดทำหลักสูตรการบำบัดและฟื้นฟูเยียวยาเด็กที่ถูกกระทำด้วยความรุนแรง. กองคุ้มครองเด็กและเยาวชน กรมกิจการเด็กและเยาวชน กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์.
- ภัทราภรณ์ พวงเพชร และ อารยา ผลธัญญา. (2561). การปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มบูรณาการเพื่อพัฒนาการตระหนักรู้ในตนเอง ของนักเรียนวัยรุ่นที่มีพฤติกรรมเสี่ยง. รายงานสืบเนื่อง การประชุมวิชาการและการนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติทางจิตวิทยาประจําปี พ.ศ. 2561: “หลากหลายอย่างกลมกลืนในมุม (มอง) จิตวิทยา” (หน้า 644-655). กรุงเทพมหานคร.
- ลักษณี เอกเรื่อง และ อารยา ผลธัญญา. (2561). ผลของโปรแกรมการให้การปรึกษากลุ่มตามแนวการบำบัดความคิดและพฤติกรรมที่มีต่ออิสระแห่งตนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา. รายงานสืบเนื่อง การประชุมวิชาการและการนําเสนอผลงานวิจัยระดับชาติทางจิตวิทยาประจําปี พ.ศ. 2561: “หลากหลายอย่างกลมกลืนในมุม (มอง) จิตวิทยา” (หน้า 806). กรุงเทพมหานคร.
2560
- ไชยันต์ สกุลศรีประเสริฐ, อารยา ผลธัญญา, ทัศนีย์ หอมกลิ่น, กุลวดี ทองไพบูลย์, พิมพ์มาศ ตาปัญญา และ รติพันธ์ ถาวรวุฒิชาติ. (2560). ความตรงและความเที่ยงของแบบสอบถามแรงจูงใจในการดื่มสุราฉบับปรับปรุงในนักศึกษามหาวิทยาลัย. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 62(3), 223-232.
- ณฐวัฒน์ ล่องทอง, อารยา ผลธัญญา และทัศนีย์ หอมกลิ่น. (2560). การจัดทำหลักสูตรการป้องกันตนเองจากความรุนแรงสำหรับเด็ก. กองคุ้มครองเด็กและเยาวชน กรมกิจการเด็กและเยาวชน กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์.
- นิลุบล สุขวณิช, กุลวดี ทองไพบูลย์ และ อารยา ผลธัญญา. (2560). การฟื้นคืนได้ในแม่วัยรุ่นที่ตั้งครรภ์ไม่พร้อมในจังหวัดเชียงใหม่. วารสารสวนปรุง, 33(2), 99-114.
- อารยา ผลธัญญา และ ดวงหทัย กาศวิบูลย์. (2560). การพัฒนาแบบวัดอภิปัญญาสำหรับนักศึกษาปริญญาตรี: การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน. Rajabhat Journal of Sciences, Humanities & Social sciences, 18(2), 399-408.
2555
- Pontanya, A., Sirivunnabood, P., and Wiratchai, N. (2012). A test of causal model of children’s development with/without resilience as a mediator: a comparison between children affected/not affected by the 2004 Tsunami. Journal of Human Resource Devetopment, 3(2), 110-118.
ผลงานบริการวิชาการ
(ตัวอย่างส่วนหนึ่ง)
- วิทยากรบรรยายหัวข้อทฤษฎีจิตวิทยาพัฒนาการ โครงการนักจิตวิทยาโรงเรียนประจำเขตพื้นที่การศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)
- วิทยากรบรรยายหัวข้อ ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับจิตวิทยาเด็กพิเศษ สำหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
- วิทยากรร่วมหลักสูตรการบำบัดและฟื้นฟูเยียวยาเด็กที่ถูกกระทำด้วยความรุนแรง. กองคุ้มครองเด็กและเยาวชน กรมกิจการเด็กและเยาวชน กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
- ผู้ทรงคุณวุฒิประเมินหลักสูตรระดับปริญญาตรี
- คณะกรรมการฝ่ายวิชาการ สมาคมนักจิตวิทยาคลินิกไทย วาระปี 2562-2563
อาจารย์ ดร.แสงเดือน ยอดอัญมณีวงศ์
2550-2554 ปริญญาเอก Ph.D. (Special Education: Children with Social, Emotional and Behavioural Difficulties), University of Birmingham, United Kingdom
2544-2546 ปริญญาโท กศ. ม. การศึกษาพิเศษ (การจัดการศึกษาสำหรับเด็กปัญญาเลิศ) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
2536-2540 ปริญญาตรี วท. บ. (จิตวิทยา สาขาจิตวิทยาคลินิก) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ประวัติการทำงาน
เมษายน 2558 – ปัจจุบัน (full time)
- อาจารย์ ภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
กันยายน 2540 – เมษายน 2558 (full time)
- นักจิตวิทยาคลินิกชำนาญการ สถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ (ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ผู้ประกอบโรคศิลปะสาขาจิตวิทยาคลินิก เลขที่ใบอนุญาต จ.ค.315)
เมษายน 2540 – สิงหาคม 2540 (full time)
- นักจิตวิทยา ศูนย์พิทักษ์สิทธิเด็ก
ความเชี่ยวชาญ
Child and Adolescent Psychology, Child with Social, Emotional and Behavioral Difficulties, Child with Special Needs, Parenting, Cognitive Behavioral Therapy, DIR/Floortime
ผลงานวิชาการ
2564
- Kongtueng, P. & Yotanyamaneewong, S. (2021). A lesson from our institute; Why do veterinary schools need an anatomy museum? Veterinary Integrative Sciences, 19(3), 557-569.
- Rothenber, W.A., Ali, S., Rohner, R.P., Lansford, J.E., Britner, P.A., Di Giunta, L., Dodge, K.A., Malone, P.S.., Oburu, P., Pstorelli, C., Skinner, A.T., Sorbring, E., Steinberg, L., Tapanya, , Uribe Tirado, L.M., Yotanyamaneewong, S., Alampay, L.P., Al-Hassan, S.M., Bacchini, D., Bornstein, M.H., Chang, L., & Deater-Deckard, K. (2021). Effects of Parental Acceptance-Rejection on Children’s Internalizing and Externalizing Behaviors: A Longitudinal, Multicultural Study. Journal of Child and Family Studies, https://doi.org/10.1007/s10826-021-02072-5
- Lansford, J.E., Rothenber, W.A., Riley, J., Uribe Tirado, L.M., Yotanyamaneewong, S., Alampay, P., Al-Hassan, S.M., Bacchini, D., Bornstein, M.H., Chang, L., Deater-Deckard, K., Di Giunta, L., Dodge, K.A., Gurdal, S., Liu, Q., Long, Q., Malone, P.S., Oburu, P., Pastorelli, C., Skinner, A.T., Sorbring, E., Tapanya, S., & Steinberg, L. (2021). Longitudinal Trajectories of Four Domains of Parenting in Relation to Adolescent Age and Puberty in Nine Countries. Child Development, 92(4), e493-e512. https://doi.org/10.1111/cdev.13526
- Rothenberg, W.A., Lansford, J.E., Bornstein, M.H., Uribe Tirado, L.M., Yotanyamaneewong, S. Alampay, L.P., Al-Hassan, S.M., Bacchini, D., Chang, L., Deater-Deckard, K., Di Giunta, L., Dodge, K.A., Gurdal, S., Lin, Q., Long, Q., Malone, P.S., Obura, P., Pastorelli, C., Skinner, A.T., Sorbring, E., Tapanya, S. & Steinberg, S. (2021). Cross-cultural associations of four parenting behaviors with child flourishing: Examining cultural specificity and commonality in cultural normativeness and intergenerational transmission processes. Child Development, 1-16. https://doi.org/10.1111/cdev.13634
- Pastorelli, C., Zuffianò, A., Lansford, J. E., Thartori, E., Bornstein, M. H., Chang, L., Deater- Deckard, K., Di Giunta, L., Dodge, K. A., Gurdal, S., Liu, Q., Long, Q., Oburu, P., Skinner, A. T., Sorbring, E., Steinberg, L., Tapanya, S., Uribe Tirado, L. M., Yotanyamaneewong, S., Al-Hassan, S., Alampay, L. P., & Bacchini, D. (July, 2021). Positive youth development: Parental warmth, values, and prosocial behavior in 11 cultural groups. Journal of Youth Development, 16(2-3), 379-401. DOI 10.5195/jyd.2021.1026
- Yotanyamaneewong, S., Rothenberg, W.A. & Tapanya, S. (2021). “Four domains of parenting in Thailand” in Landsford, J.E., Rothenberg, W.A. & Bornstein, M.H. (Eds.) Parenting Across Cultures from Childhood to Adolescence. NY: Routledge. (pp.172-192) https://doi.org/10.4324/9781003027652
- Roskam, I., Aguiar, J., Akgun, E., Arikan, G., Artavia, M., Avalosse, H., Aunola, K., Bader, M., Bahati, C., Barham, E. J., Besson, E., Beyers, W., Boujut, E., Brianda, M. -E., Brytek-Matera, A., Carbonneau, N., César, F., Bhen, B. B., Dorard, G., …, Yotanyamaneewong, S., & Mikolajczak, M. (2021). Parental burnout around the globe: A 42-country study. Affective Science, 2:58-79. https://doi.org/10.1007/s42761-020-00028-4
2563
- Rothenberg, W.A., Lansford, J.E., Bacchini, D., Bornstein, M.H., Chang, L., Deater-Deckard, K., Di Giunta, L., Dodge, K.A., Malone, P.S., Oburu, P., Pastorelli, C., Skinner, A.T., Sorbring, E., Steinberg, L., Tapanya, S., Tirado, L.M.U., Yotanyamaneewong, S., Alampay, L.P., & Al- Hassan, S.M. (2020). Cross-cultural effects of parent warmth and control on aggression and rule-breaking from ages 8-13. Aggressive Behavior. Advanced online publication.
- Kapetanovic, S., Rothenberg, W. A., Lansford, J. E., Bornstein, M. H., Chang, L., Deater-Deckard, K., Di Giunta, L., Dodge, K. A., Gurdal, S., Malone, P. S., Oburu, P., Pastorelli, C., Skinner, A. T., Sorbring, E., Steinberg, L., Tapanya, S., Uribe Tirado, L. M., Yotanyamaneewong, S., Alampay, L. P., Al-Hassan, S. M., & Bacchini, D. (2020). Cross-cultural examination of links between parent-adolescent communication and adolescent psychological problems in 12 cultural groups. Journal of Youth and Adolescence. 49: 1225-1244.
- Di Giunta, L., Rothenberg, W. A., Lunetti, C., Lansford, J. E., Pastorelli, C., Eisenberg, N., Thartori, E., Basili, E., Favini, A., Yotanyamaneewong, S., Peña Alampay, L., Al-Hassan, S. M., Bacchini, D., Bornstein, M. H., Chang, L., Deater-Deckard, K., Dodge, K. A., Oburu, P., Skinner, A. T., . . . Uribe Tirado, L. M. (2020). Longitudinal associations between mothers’ and fathers’ anger/irritability expressiveness, harsh parenting, and adolescents’ socioemotional functioning in nine countries. Developmental Psychology. 56(3): 458–474. https://doi.org/10.1037/dev0000849
- Rothenberg, A.W., Lansford, J.E., Chang, L., Deater-Deckard, K., Giunta, L.D., Dodge, K.A., Malone, P.S., Oburu, P., Pastorelli, C., Skinner, A.T., Sorbring, E., Steinberg, L., Tapanya, S. Uribe Tirado, L.M., Yotanyamaneewong, S., Alampay, L.P., Al-Hassan, S.M., Bacchini, D. & Bornstein M.H. (2020). Examining the internalizing pathway to substance use frequency in 10 cultural groups. Addictive Behaviors. 102:1-9. https://doi.org/10.1016/j.addbeh.2019.106214 * Honored with Matilda White Riley Early Stage Investigator Award to W. A. Rothenberg from the NIH Office of Behavioral and Social Sciences Research.
2562
- Yotanyamaneewong, S., Junla, D. & Kaewhiran, S. (2019). The effect of child psychotherapy training programme for psychologists in primary care hospital. Journal of Human Sciences. 20(3): 151-173.
- Chang, L., Lu, H., Lansford, J. E., Bornstein, M. H., Steinberg, L., Chen, B., Skinner, A. T., Dodge, K. A., Deater-Deckard, K., Bacchini, D., Pastorelli, C., Alampay, L. P., Tapanya, S., Sorbring, E., Oburu, P., Al-Hassan, S., Di Giunta, L., Malone, P. S., Uribe Tirado, L. M., & Yotanyamaneewong, S. (2019). External environment and internal state in relation to life history behavioural profiles of adolescents in nine countries. Proceedings of the Royal Society B. 286:1-9. 20192097.
- Rothenberg, A.W., Lansford, J.E., Alampay, L.P., Al-Hassan, S.M., Bacchini, D., Bornstein, M.H., Chang, L., Deater-Deckard, K., Giunta, L.D., Dodge, K.A., Malone, P.S., Oburu, P., Pastorelli, C., Skinner, A.T., Sorbring, E., Steinberg, L., Tapanya, S., Tirado, L.M.U. & Yotanyamaneewong, S. (2019). Examining effects of mother and father warmth and control on child externalizing and internalizing problems from age 8 to 13 in nine countries. Development and Psychopathology. 23, 1-25.
- Rothenberg, A.W., Lansford, J.E., Al-Hassan, S.M., Bacchini, D., Bornstein, M.H., Chang, L., Deater- Deckard, K., Di Giunta, L., Dodge, K.A., Malone, P.S., Oburu, P., Pastorelli, C., Skinner, A.T., Sorbring, E., Steinberg, L., Tapanya, S., Uribe Tirado, L.M., Yotanyamaneewong, S. & Alampay. L.P. (2019). Examining effects of parent warmth and control on internalizing behavior cluster from age 8 to 12 in 12 cultural groups in nine countries. Journal of Child Psychology and Psychiatry. https://doi.org/10.1111/jcpp.13138
- Deater-Deckard, K., Godwin, J., Lansford, J.E., Tirado, L.M.U., Yotanyamaneewong, S., Alampay, L.P., Al-Hassan, S.M., Bacchini, D., Bornstein, M.H., Chang, L., Di Giunta, L., Dodge, K.A., Oburu, P., Pastorelli, C. Skinner, A.T., Sorbring, E., Steinberg, L. & Tapanya, S. (2019). Chaos, danger, and maternal parenting in families: Links with adolescent adjustment in low-and middle-income countries. Developmental Science. 22(5):1-18. https://doi.org/10.1111/desc.12855
- Sorbing, E., Lansford, J.E., Yotanyamaneewong, S., Tapanya, S. & Pastorelli, C. (2019). “Education and parenting: An introduction” in Sorbing, E. & Lansford, J.E. (Eds.) School System, Parent Behavior, and Academic Achievement: An International Perspective. Cham, Switzerland: Springer. (p.1-14)
- Yotanyamaneewong, S. & Tapanya, S. (2019). “Education and Parenting in Thailand” in Sorbing, E. & Lansford, J.E. (Eds.) School System, Parent Behavior, and Academic Achievement: An International Perspective. Cham, Switzerland: Springer. (pp.111- 121)
2560
- Yotanyamaneewong, S. (2017). Do companion animals enhance social and emotional development in children? Chiang Mai Veterinary Journal. 15(3): 137-145.
ผลงานบริการวิชาการ
2562
- ที่ปรึกษาด้านจิตวิทยา โรงเรียนอัสสัมชัญลำปาง
- บรรยาย การดูแลช่วยเหลือทางสุขภาพจิตนักศึกษา สำหรับอาจารย์คณะมนุษยศาตร์
- บรรยาย การให้การปรึกษานักศึกษา สำหรับอาจารย์มหาวิทยาลัย คณะเภสัชศาสตร์
- บรรยาย การให้การปรึกษานักศึกษา สำหรับอาจารย์มหาวิทยาลัย คณะวิทยาศาสตร์
- บรรยาย สุขภาพจิตในการทำงาน สำหรับบุคลากรคณะมนุษยศาสตร์
- บรรยาย DIR/Floortime สะพานเชื่อมพัฒนาการจากบ้านสู่โรงเรียน, EDUCA
2560
- Workshop การเลี้ยงลูกอย่างสมดุล ให้กับผู้ปกครอง ครู และผู้สนใจ
2561-ปัจจุบัน
- ให้คำปรึกษาและส่งเสริมศักยภาพนักกีฬา สมาคมยกน้ำหนักแห่งประเทศไทย
2556-ปัจจุบัน
- ที่ปรึกษาด้านพฤติกรรมนักเรียนโรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย (แผนกประถม)
2559-ปัจจุบัน
- ที่ปรึกษาด้านพฤติกรรมนักเรียนโรงเรียนปริ้นซ์รอยแยลวิทยาลัย
2558-2560
- คณะกรรมการคุ้มครองสิทธิเด็กและเยาวชน จังหวัดเชียงใหม่
2558
- Workshop การทำจิตบำบัดเบื้องต้นสำหรับนักจิตวิทยาในโรงพยาบาลชุมชน
2557-2560
- บรรณาธิการ วารสารจิตวิทยาคลินิก
อาจารย์ ดร.ทัศนีย์ หอมกลิ่น
2557 – Ph.D. of Philosophy, Graduate School for International Development and Cooperation (IDEC), Hiroshima University, Japan.
2551 – ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ (ศ.ศ.ม.) คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
2544 – เศรษฐศาสตรบัณฑิต คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ศ.บ.)
ประวัติการทำงาน
2558(พ.ค.)-ปัจจุบัน
- อาจารย์ประจำภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2557(ธ.ค.)-2558(มี.ค.)
- เจ้าหน้าที่อาวุโส งานประเมินองค์กร สำนักยุทธศาสตร์ สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ (องค์การมหาชน)
ความเชี่ยวชาญ
วิชาที่สอน: จิตวิทยาทั่วไป, จิตวิทยาสังคม, จิตวิทยาการฝึกอบรมและการพัฒนาในองค์การ, จิตวิทยาการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาองค์การ
ผลงานวิชาการ
ผลงานวิจัยและผลงานตีพิมพ์
2563
- Futemwog S., & Homklin, T. Relationships between Leader-Member Exchange and Employee Creativity: The Sequential Mediating Roles of Psychological Empowerment and Intrinsic Motivation. Human Resource and organization Development Journal, 12(1), pp.84-112.
2562
- Techakanont, K., Homklin, T., & Phamaranon, T. Where Have All the Old Cars Gone? The Role of the Informal Sector in Handling End-of-Life Vehicles in Thailand. Full Paper Presented at GERPISA’s 27th International Colloquium “Paradigm Shift? The Automotive Industry in Transition”, June12-14th, Paris, France.
- Homklin, T. An Examination of Individual Factors on Transfer of Training: A Moderated Mediation Analysis. Full Paper Presented at The Asian Conference on Psychology & the Behavioural Sciences (ACP), March 21st-23rd, Tokyo, Japan
- เกรียงไกร เตชกานนท์, ยศพงษ์ ลออนวล, พีระ เจริญพร และ ทัศนีย์ หอมกลิ่น ยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์/เครื่องใช้ไฟฟ้าอัจฉริยะ. กรุงเทพฯ: สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.)
2561
- Smitithikrpai, C., Homklin, T., Pusapanich, P., Wongpinpech, V. & Kreausukon, P. Factors influencing students’ academic success: The mediating role of study engagement. International Journal of Behavioral Science, 13(1), pp.1-14.
- ณฐวัฒน์ ล่องทอง, อารยา ผลธัญญา และทัศนีย์ หอมกลิ่น. การจัดทำหลักสูตรการป้องกันตนเองจากความรุนแรงสำหรับเด็ก. กองคุ้มครองเด็กและเยาวชน กรมกิจการเด็กและเยาชน กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
- ทัศนีย์ หอมกลิ่น, อารยา ผลธัญญา และ ไชยันต์ สกุลศรีประเสริฐ. อิทธิพลของความเครียดในการเรียนและทุนทางจิตวิทยาที่มีผลต่อผลการเรียนและความผูกพันในการเรียนของนักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (อยู่ระหว่างดำเนินการ)
2560
- Homklin, T., & Takahashi, Y. A meta-analysis of learning and training transfer: Moderating effects of motivation to transfer and social support. Full paper presented at International Research Conference on Sustainable Development of Human Capital: Exploring Perspectives from Grassroots to Global Research & Practice, Proceeding of International Research Conference on Academy of Human Resource Development, 8-10th November, Ahmedabad, India, pp.58-59.
- Sakulsriprasert, C., Pontanya, A., Homkiln, T, Thongpaibul, K., Tapanya, P. & Thawornwutichat, R. Validity and Reliability of Drinking Motive Questionnaire-Revised (DMQ-R) among University Students. Journal of the Psychiatry Association of Thailand, 62(3), pp.223-232.
- ยศพงษ์ ลออนวล, เกรียงไกร เตชกานนท์, ธัชวรรณ กนิษฐ์พงศ์, วนพจน์ อังกสิทธิ์,กานดา บุญโสธรสถิต, กิตต์ชนน เรืองจิรกิตติ์, ทัศนีย์ หอมกลิ่น และ ฐิติภัทร ดอกไม้เทศ. โครงการวิจัยเชิงนโยบายเพื่อยกระดับอุตสาหกรรมยานยนต์สีเขียวในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
- ณฐวัฒน์ ล่องทอง, อารยา ผลธัญญา และทัศนีย์ หอมกลิ่น. การจัดทำหลักสูตรการบำบัดและฟื้นฟูเยียวยาเด็กที่ถูกกระทำด้วยความรุนแรง. กรมกิจการเด็กและเยาชน กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
2558-2560
- Human resource development in Asian late industrialized countries: Learning of production management knowledge/skills and its transfer to workplace, research project funded by the Japan Society for the Promotion of Science (JSPS), (Project led by Assoc. Prof. Yoshi Takahashi, Hiroshima University, Japan).
2558
- เกรียงไกร เตชกานนท์ และ ทัศนีย์ หอมกลิ่น. โครงการสำรวจพฤติกรรมการกำหนดค่าจ้างและราคาของผู้ประกอบการ ปี 2557. กรุงเทพฯ : ธนาคารแห่งประเทศไทย
- เกรียงไกร เตชกานนท์, อนิณ อรุณเรืองสวัสดิ์, เณศรา สุขพานิช และ ทัศนีย์ หอมกลิ่น. แผนยุทธศาสตร์และแผนปฏิบัติการส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม: สาขายาและสมุนไพร. กรุงเทพฯ: สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.)
2557
- Homklin, T., Takahashi, Y. & Techakanont, K. The Influence of Social and Organizational Support on Transfer of Training: Evidence from Thailand. International Journal of Training and Development, 18(2), pp. 116-131. (Online published: May 6, 2014, doi: 10.1111/ijtd.12031 URL: http://onlinelibrary.wiley.com/…/ijtd.2014…/issuetoc)
2556
- Homklin, T., Takahashi, Y. & Techakanont, K. Effects of Individual and Work Environment Characteristics on Training Effectiveness: Evidence from Skill Certification System for Automotive Industry in Thailand. International Business Research, 6(12), pp.1-16. (Online published: November 22, 2013, doi: 10.5539/ibr.v6n12p1 URL: http://dx.doi.org/10.5539/ibr.v6n12p1)
- Homklin, T., Takahashi, Y. & Techakanont, K. Testing Kirkpatrick’s Four-Level Hierarchy of Training Evaluation: Evidence from Thailand’s Automotive Industry. IDEC discussion paper DP2 Series Vol.3 no.4 (2013-05), (URL: http://ir.lib.hiroshima-u.ac.jp/00034634, Fulltext URL: http://ir.lib.hiroshima-u.ac.jp/…/ZZT…/IDEC-DP2_03-4.pdf).
อาจารย์ ดร.ณฐวัฒน์ ล่องทอง
2559 ปริญญาเอก สาขาวิชาจิตวิทยา กลุ่มวิชาจิตวิทยาการให้คำปรึกษา (ปร.ด.) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต
2550 ปริญญาโท สาขาจิตวิทยาการปรึกษา (ว.ทม.) ภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2541 ปริญญาตรี วิชาเอกจิตวิทยาอุตสาหกรรม (ว.ทบ.) ภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ประวัติการทำงาน
ปัจจุบัน
- อาจารย์ประจำภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
- กรรมการกลาง สมาคมจิตวิทยาแห่งประเทศไทย
ความเชี่ยวชาญ
- ออกแบบและจัดฝึกอบรมโดยใช้ความรู้และกระบวนการทางจิตวิทยา เช่น การฝึกอบรมโดยใช้กิจกรรมเพื่อการเรียนรู้ และเหมาะสมกับการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21, การฝึกอบรมโดยใช้กระบวนการกลุ่มทางจิตวิทยาเพื่อความเข้าใจตนเอง,การฝึกอบรมพัฒนาทักษะชีวิตและ การทำงาน, การฝึกอบรมเพื่อเสริมสร้างสัมพันธภาพในครอบครัว, การสร้างทีมงานและความผูกพันในองค์กร, การสร้างทักษะการให้คำปรึกษาทางจิตวิทยา, การพัฒนาทักษะการเป็นวิทยากรด้านการจัดกิจกรรมทางจิตวิทยา, กิจกรรม Walk Rally หรือ Outdoor Activity
- การให้คำปรึกษาทางจิตวิทยาเพื่อพัฒนาจิตใจโดยใช้ความรู้และกระบวนการทางจิตวิทยา เช่น การให้คำปรึกษาแบบรายบุคคล การให้การปรึกษาแบบกลุ่มเพื่อแก้ปัญหาในการทำงานและการใช้ชีวิต การให้การปรึกษาครอบครัวเพื่อเสริมสร้างสัมพันธภาพ, การให้คำปรึกษาแบบเฉพาะเพื่อเสริมสร้างกำลังใจ การให้การปรึกษาในกลุ่มผู้มีวิชาชีพการให้การปรึกษา
ประสบการณ์การทำงานด้านฝึกอบรม
2559-ปัจจุบัน
- อาจารย์ผู้สอน และหัวหน้าทีมผู้สร้างรายวิชา จิตวิทยากับชีวิตประจำวัน (Psychology and Daily Life) และ ทักษะการสื่อสารระหว่างบุคคลในการทำงาน (Interpersonal Communication Skills in Workplace) ในระบบ Thai MOOC (Thailand Massive Open Online Course) ในโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ และกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
2557-ปัจจุบัน
- อาจารย์ผู้สอน หลักสูตรปริญญาโท จิตวิทยาการปรึกษา ภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กระบวนวิชา “ครอบครัวบำบัด”
2555-2559
- อาจารย์ประจำอัตราจ้างพิเศษ ตำแหน่งผู้มีความรู้ความสามารถพิเศษ ภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2551-2555
- อาจารย์พิเศษ ภาควิชาจิตวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก
2551-2555
- อาจารย์พิเศษ คณะครุศาสตร์และ คณะวิทยากรจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
2550-2556
- ผู้อำนวยการและวิทยากร หจก.ฮาร์ท แอนด์ เฮด กรุ๊ป ฝึกอบรม และการให้การปรึกษาทางจิตวิทยา ประสบการณ์การทำงานด้านการสอน (จิตวิทยา/การบริหารทรัพยากรมนุษย์)
2550-2555
- อาจารย์พิเศษ ภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2550-2555
- อาจารย์พิเศษ หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ กรมศิลปากร
2550-2552
- อาจารย์พิเศษ คณะศิลปศาสตร์และคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น เชียงใหม่
2543-2550
- วิทยากร และกรรมการบริหาร บริษัท ซินเนอยี่ เทรนนิ่ง แอนด์ ดีเวลลอปเมนท์ จำกัด
ประสบการณ์การทำงานด้านการสอน (จิตวิทยา/การบริหารทรัพยากรมนุษย์)
2559-ปัจจุบัน
- อาจารย์ผู้สอน และหัวหน้าทีมผู้สร้างรายวิชา จิตวิทยากับชีวิตประจำวัน (Psychology and Daily Life) และ ทักษะการสื่อสารระหว่างบุคคลในการทำงาน (Interpersonal Communication Skills in Workplace) ในระบบ Thai MOOC (Thailand Massive Open Online Course) ในโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ และกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
2557-ปัจจุบัน
- อาจารย์ผู้สอน หลักสูตรปริญญาโท จิตวิทยาการปรึกษา ภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กระบวนวิชา “ครอบครัวบำบัด”
2555-2559
- อาจารย์ประจำอัตราจ้างพิเศษ ตำแหน่งผู้มีความรู้ความสามารถพิเศษ ภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2551-2555
- อาจารย์พิเศษ ภาควิชาจิตวิทยา คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก
- อาจารย์พิเศษ คณะครุศาสตร์และ คณะวิทยากรจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่
2550-2555
- อาจารย์พิเศษ ภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
- อาจารย์พิเศษ หลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ กรมศิลปากร
2550-2552
- อาจารย์พิเศษ คณะศิลปศาสตร์และคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น เชียงใหม่
ประสบการณ์การเป็นวิทยากร
- หน่วยงานเอกชน เช่น ธนาคารเกียรตินาคิน จำกัด (สำนักงานใหญ่), บุคลากรโรงแรม Le Meridien, บริษัท สยามทบพันแพคเกจจิ้ง จำกัด สมุทรปราการ, บริษัท MAGOTTEAUX จำกัด, บริษัท เคซีอี อิเลคทรอนิคส์ จำกัด พระนครศรีอยุธยา, บริษัท ปูนซีเมนต์ไทย จำกัด ลำปาง, บริษัท เชลล์ ประเทศไทย จำกัด, บริษัท ไทยฟูด แอนด์เคมิคอล จำกัด กรุงเทพ, บริษัทในเครือสหพัฒนพิบูล ลำพูน, บริษัท เซ็นทรัลพัฒนา จำกัด (มหาชน), บริษัท เคียวเซร่า เฮนเซกิ จำกัด ลำพูน, Embassy Freight กรุงเทพ, TANAKA Precision ลำพูน, บริษัท นิ่มซี่เส็งลิสซิ่ง จำกัด, บริษัท Thai NJR จำกัด, บมจ.ฟิลลิปประกันชีวิต เป็นต้น
- หน่วยงานรัฐบาลและรัฐวิสาหกิจ เช่น โรงพยาบาลนครพิงค์ เชียงใหม่, โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์, โรงพยาบาล พระศรีมหาโพธิ์ อุบลราชธานี, โรงพยาบาลสบเมย แม่ฮ่องสอน, โรงพยาบาลธัญญรักษ์ แม่ฮ่องสอน, ผู้บริหารและพนักงานการไฟฟ้าฝ่ายผลิต ,เทศบาลตำบลบ้านกลาง ลำพูน, บุคลากรแผนกทันตกรรม โรงพยาบาลลำพูน, เทศบาลหาดกรวด อุตรดิตถ์ เป็นต้น
- หน่วยงานด้านการศึกษา เช่น บุคลากรมหาวิทยาลัยเชียงใหม่, บุคลากรเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดภูเก็ต, สโมสรนิสิตคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร พิษณุโลก, นิสิตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, ครูและบุคลากรโรงเรียนเทคโนโลยีเอเชีย เชียงใหม่, คณะครูโรงเรียนอัสสัมชัญ ลำปาง, บุคลากรมหาวิทยาลัยนอร์ท เชียงใหม่, นักเรียนโรงเรียนเตรียมทหาร, นักเรียนโรงเรียนนายเรืออากาศ นวมินทกษัตริยาธิราช, นักศึกษามหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง เชียงราย เป็นต้น
- หน่วยงานเกี่ยวข้องกับเด็กและเยาวชน เช่น บ้านเด็กชาย เชียงใหม่, Malteser International พังงา, บริษัท เบลูก้าเอสแอล จำกัด, International Organization for Migration (IOM), ADRA เชียงราย, บ้าน Sarnelli หนองคาย, โครงการรอยยิ้มของเด็ก ในพื้นที่ประสบอุทกภัยจังหวัด พระนครศรีอยุธยา ลพบุรี โดยองค์การยูนิเซฟ และมหาวิทยาลัยขอนแก่น, โครงการเติมใจให้เต็มใจ พื้นที่สามจังหวัดภาคใต้ โดย Save the Children เป็นต้น
ผลงานวิชาการ
ผลงานตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการระดับชาติและนานาชาติ
2561
- กมลชนก คงเจริญ และ ณฐวัฒน์ ล่องทอง. (2561). การเสริมสร้างสุขภาวะทางจิตของนักศึกษามหาวิทยาลัยโดยใช้กระบวนการกลุ่มพัฒนาตนตามแนวคิดมนุษยนิยม ในโครงการการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัย มหาวิทยาลัยพายัพ พ.ศ. 2561 (Payap University Research Symposium 2018) วันที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 ณ มหาวิทยาลัยพายัพ จังหวัดเชียงใหม่ จัดโดยมหาวิทยาลัยพายัพ ร่วมกับ เครือข่ายบริหารการวิจัยภาคเหนือตอนบน (สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา), 1053-1064.
2558
- Smithikrai, C., Longthong, N., & Peijsel, C. (2015). Effect of Using Movies to Enhance Personal Responsibility of University Students. Asian Social Science, 11(5), 1-9.
การนำเสนอผลงานในที่ประชุมวิชาการระดับชาติ
2563
- จีรนันท์ ขันอ้าย, ณฐวัฒน์ ล่องทอง และ แสงเดือน ยอดอัญมณีวงศ์. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้คุณความดีและพฤติกรรมเอื้อสังคมของนักศึกษาที่รับทุนการศึกษาของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในโครงการการประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัย มหาวิทยาลัยพายัพ พ.ศ. 2563 (Payap University Research Symposium 2020) วันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 ณ มหาวิทยาลัยพายัพ จังหวัดเชียงใหม่ จัดโดยมหาวิทยาลัยพายัพ ร่วมกับ เครือข่ายบริหารการวิจัยภาคเหนือตอนบน (สำนักงานปลัดกระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.)), 616-624.
- อารยา ผลธัญญา, ณฐวัฒน์ ล่องทอง และ ทัศนีย์ หอมกลิ่น. (2563). การประเมินความต้องการจำเป็นในการพัฒนาทักษะการบำบัดฟื้นฟูเยียวยาเด็กที่ถูกกระทำด้วยความรุนแรงของบุคลากรบ้านพักเด็กและครอบครัว. วารสารจิตวิทยาคลินิก, 51(2), 28-39.
ผลงานและรางวัล
2560-ปัจจุบัน
- รางวัลวิชายอดนิยมในระบบ Thai MOOC* โดยเป็นหัวหน้าทีมคณาจารย์ดำเนินการสร้างวิชาจิตวิทยากับชีวิตประจำวัน ภายใต้นโยบายสำคัญของรัฐบาล ดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมจากความร่วมมือของโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอร์ไทย สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโลยีแห่งชาติ และกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม โดยได้รับรางวัลวิชาที่มีจำนวนผู้เรียนสูงสุดในภาคเหนือ (วิชายอดนิยม)
- ระบบการศึกษาแบบเปิดที่นักเรียน นิสิต นักศึกษาและประชาชนทั่วไปสามารถเข้าเรียนผ่านอินเทอร์เน็ตได้โดยไม่มีเงื่อนไขใดๆ มาเป็นข้อจำกัด ไม่มีการเก็บค่าลงทะเบียนเรียน ไม่ต้องสอบเข้า และไม่มีการจำกัดจำนวนรับ เป็นการเปิดโอกาสการศึกษาให้ทุกคนได้เรียนความรู้ที่สนใจได้โดยไม่มีเงื่อนไข
- รางวัลผู้ปฏิบัติที่ดีด้านการจัดการเรียนรู้แบบใหม่ในศตวรรษที่ 21 (Good Practices) วิชา การพัฒนาทักษะทางจิตสังคม ในกลุ่มสาขาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
- ผู้ออกแบบหลักสูตรการเรียนรู้เพื่อพัฒนาบุคลากร กรมกิจการเด็ก กระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ อาทิ หลักสูตรการบำบัดฟื้นฟูเยียวยาเด็ก หลักสูตรการป้องกันตนเองจากความรุนแรงสำหรับเด็ก เป็นต้น รวมทั้งออกแบบหลักสูตรต่างๆ ให้องค์การไม่แสวงหาผลกำไร อาทิ หลักสูตรการพัฒนาทักษะชีวิตและการเตรียมความพร้อมเข้าสู่ตลาดแรงงานสำหรับเยาวชนที่ออกจากจากศูนย์ฝึกอบรมเด็กและเยาวชน หลักสูตรการเป็นวิทยากรในการดูแลเด็กในรูปแบบครอบครัวอุปถัมภ์
ประกาศนียบัตร และ การเข้ารับการฝึกอบรม
2562
- Satir Coaching and Mentoring Specialist Certification by The Virginia Satir Global Network วันที่ 1 ตุลาคม 2562
2560
- 30 Contact Hours for Training Program Satir in Sand Tray Workshop วันที่ 5-9 กุมภาพันธ์ 2560 ณ โรงพยาบาลสมเด็จเจ้าพระยา
2559
- Enriching your life and your relationships จัดโดย สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และเครือข่ายพ่อแม่ไทยในวิถีแอ๊ดเลอร์ วันที่ 24-28 สิงหาคม 2559 ณ สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร
- 30 Contact Hours for Training Program Working with Psychiatric Problems by Using Satir Transformational systemic Therapy ณ โรงพยาบาลศรีธัญญา
2558
- 38 Contact Hours for Satir Transformational systemic Therapy (Level II Phase II) วันที่ 5-9 กันยายน 2558) ณ โรงพยาบาลสมเด็จเจ้าพระยา
- 40 Contact Hours for Satir Transformational systemic Therapy (Level II Phase I) วันที่ 28 เมษายน 2558 – 2 พฤษภาคม 2558) ณ โรงพยาบาลสมเด็จเจ้าพระยา
2557
- 30 Contact Hours for Satir Transformational systemic Therapy (Level I Phase II) วันที่ 27 เมษายน 2557- 1 พฤษภาคม 2557) ณ โรงพยาบาลสมเด็จเจ้าพระยา 2014
2555
- การฝึกอบรมพัฒนาพฤติกรรมและกำลังใจงานช่วยเหลือเชิงจิตวิทยา “สร้างคน สร้างสันติ เริ่มต้นที่ตน ครอบครัวและรั้วงาน” 29 ตุลาคม 2555-2 พฤศจิกายน 2555 โดย สถาบันพัฒนาสุขภาพอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล
2554-2555
- Psychological and Behavioral Strength-Base through Innovation International Approaches (Year Program) จัดโดย The Virginia Satir Global Network, USA และ Institute for International Connections (IIC), USA
2554
- การฝึกอบรม ครอบครัวบำบัด ครั้งที่ 4 โดย คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 5-9 เมษายน 2554 ณ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
- Seven Day Retreat หลักสูตร Understanding Our mind: The Buddhist Practice of Nourishment and Healing วันที่ 25-31 มีนาคม 2554 ณ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย อยุธยา จัดโดย European Institute of Applied Buddhism
2551
- Training on child’s rights based Approach (CRBA) 5-7 ตุลาคม จังหวัดน่าน โดย Terrs des Hommes Germany และ Save the Children Sweden 2008
2548
- Building Blocks Training for children with serious illness โดย Association of Hole in the Wall Camps 15-18 พฤศจิกายน 2548 ณ โรงแรมอันดาบุรีรีสอร์ท เขาหลัก พังงา 2005
อาจารย์ ดร.อาชว์บารมี มณีตระกูลทอง
PhD (Business Studies – International Human Resource Management), Cardiff University, United Kingdom
Postgraduate Diploma in Social Science Research Methods Cardiff University, United Kingdom
วท.บ. (วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต) สาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ ภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
บธ.ม. (บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยพายัพ เชียงใหม่
บช.บ. (บัญชีบัณฑิต) สาขาวิชาการบัญชี คณะบัญชีการเงินและการธนาคาร มหาวิทยาลัยพายัพ เชียงใหม่
ประวัติการทำงาน
2561-ปัจจุบัน
- อาจารย์ประจำสาขาวิชาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ ภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2556 – 2561
- นักวิจัย (ด้านผู้ประกอบการ) สถาบันวิจัยสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2554 – 2557
- ผู้ประกอบการบ้านปายริเวอร์ไซด์รีสอร์ท อ.ปาย จ.แม่ฮ่องสอน
อาจารย์พิเศษและที่ปรึกษาทางธุรกิจในภาคเหนือตอนบน
ความเชี่ยวชาญ (นอกจากวุฒิการศึกษา)
พฤติกรรมองค์การ การเป็นผู้ประกอบการ การวางแผนกลยุทธ์ และการจัดการความหลากหลายทางวัฒนธรรม
ผลงานวิชาการ
โครงการวิจัย ผลงานตีพิมพ์ในวารสารทางวิชาการระดับชาติและนานาชาติ
2564
- Karapan,R., Maneetrakunthong,A. & Susuwan, P. The Development of Naturally Dyed Indigo Fabric Products for the Thai Phuan Weaving Group of Ban Thung Hong, Thailand. The International Journal of Designed Objects 15 : 29 – 44. ปีที่ตีพิมพ์ : 2021 สำนักพิมพ์ : Common Ground Research Networks (SCOPUS)
2563
- การพัฒนาพลเมืองลำปางสร้างสรรค์ด้วยแนวคิดเมืองน่าอยู่ (โครงการย่อยที่ 2 ภายใต้แผนงานกลไกการพัฒนา “ลำปางเมืองสร้างสรรค์” (ทุนด้านการพัฒนาระดับพื้นที่ บพท. ปีพ.ศ.2563)
- ชูชัย สมิทธิไกร และอาชว์บารมี มณีตระกูลทอง. (2563). การวิเคราะห์องค์ประกอบของจุดแข็งเชิงจิตวิทยาในบริบทสังคมไทย: การศึกษาจากคำศัพท์พรรณนาลักษณะบุคคล. มนุษยศาสตร์สาร ปีที่ 22 ฉบับที่ 1 121-142.
- อาชว์บารมี มณีตระกูลทอง และฑริดา ใบเกษม. (2563). การพัฒนาการตลาดภายใต้แนวคิดไทยแลนด์ 4.0 สู่การเป็น Premium OTOP ของกลุ่มหัตถกรรมจักสานไม้ไผ่ ชุมชนบ้านป่าบง อ.เมือง จ.เชียงใหม่. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต, 8(1), 227-237.
2562
- การวิเคราะห์องค์ประกอบจุดแข็งเชิงจิตวิทยาในบริบทสังคมไทย: การศึกษาจากคำศัพท์พรรณนาลักษณะบุคคล (ทุนคณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ประจำปีพ.ศ. 2562)
- ศันสนีย์ กระจ่างโฉม, อาชว์บารมี มณีตระกูลทอง และเผชิญวาส ศรีชัย. (2562). แนวทางการพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยว สำหรับนักท่องเที่ยวผู้สูงอายุชาวต่างชาติในพื้นที่อารยธรรมล้านนา. วารสารมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 39, 75 – 90.
2561
- ความพร้อมในการขับเคลื่อนผู้ประกอบการสตาร์ทอัพ Startup ภายใต้แนวคิดไทยแลนด์ 4.0 (ทุนงบประมาณแผ่นดินประจำปีพ.ศ. 2561 ตามมติคณะรัฐมนตรี)
- การพัฒนาการตลาดภายใต้แนวคิดไทยแลนด์ 4.0 สู่การเป็น Premium OTOP ของกลุ่มหัตถกรรมจักสานไม้ไผ่ ชุมชนบ้านป่าบง อ.เมือง จ.เชียงใหม่ (ทุนสำนักคณะกรรมการการอุดมศึกษา โครงการนวัตกรรมเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ประจำปีงบประมาณพ.ศ. 2561)
- การพัฒนาผลิตภัณฑ์และช่องทางการจัดจำหน่ายสินค้าออนไลน์ผ้าย้อมครามสีธรรมชาติของกลุ่มทอผ้าไทยพวน บ้านทุ่งโฮ้ง จังหวัดแพร่ (ทุนสำนักคณะกรรมการการอุดมศึกษา โครงการนวัตกรรมเพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ประจำปีงบประมาณพ.ศ. 2561)
- Krajanchom,S, Auttarat,S., Sangkakorn,K., Maneetrakunthong,A. & Sumannarat,S. (2018). Land Use Zoning Lessons from the World Heritage Town of Luang Prabang for Chiang Mai’s Tentative List of Future World Heritage. Journal of Community Development and Life Quality. 6(1), 53 – 62.
2560
- การพัฒนาความพร้อมของการบริการด้านการท่องเที่ยวสำหรับผู้สูงอายุในเขตพัฒนาการท่องเที่ยวพื้นที่อารยธรรมล้านนา (ทุนวิจัยมุ่งเป้า สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2560)
- ผลกระทบของการเคลื่อนย้ายแรงงาน ด้านการท่องเที่ยวต่ออุตสาหกรรมการท่องเที่ยวเมื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (ทุนงบประมาณแผ่นดิน ปีงบประมาณพ.ศ. 2560 ตามมติคณะรัฐมนตรี)
- การพัฒนาผลิตภัณฑ์การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม กรณีศึกษาเส้นทางท่องเที่ยวอารยธรรมล้านนา (ทุนงบประมาณสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัยพ.ศ. 2560)
2559
- การใช้องค์ความรู้และอัตลักษณ์ล้านนาในการสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ธุรกิจการนวดแผนโบราณ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ (ทุนงบประมาณแผ่นดินประจำปีงบประมาณพ.ศ. 2559 ตามมติคณะรัฐมนตรี)
- การศึกษาบทเรียนจากเมืองมรดกโลกหลวงพระบาง สู่ว่าที่เมืองมรดกโลกเชียงใหม่ (ทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัย เชียงใหม่ ประจำปีงบประมาณพ.ศ. 2559)
2558
- การจัดการท่องเที่ยวแบบ E-Tourism ของชุมชนล่ามช้าง อ.เมือง จ.เชียงใหม่ (ทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัย เชียงใหม่ ประจำปีงบประมาณพ.ศ. 2558)
- การพัฒนาศักยภาพทางการแข่งขันของการท่องเที่ยวชุมชนในจังหวัดเชียงใหม่และลำพูนในการรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (ทุนงบประมาณแผ่นดินประจำปีงบประมาณพ.ศ. 2558 ตามมติคณะรัฐมนตรี)
- การพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการเพื่อส่งเสริมธุรกิจท่องเที่ยวที่เป็นมิตรกับชุมชน กรณีศึกษาพื้นที่ล่ามช้าง เชียงใหม่ (ทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัย เชียงใหม่ ประจำปีงบประมาณพ.ศ.2558)
2557
- การพัฒนาธุรกิจท่องเที่ยวที่มีคุณภาพและเป็นมิตรกับชุมชน ในเขตเมืองเก่า จ.เชียงใหม่ (ทุนเครือข่ายบริหารการวิจัยภาคเหนือตอนบน ประจำปีงบประมาณพ.ศ. 2557)
- แนวทางพัฒนาศักยภาพและความพร้อมของผู้ประกอบการในการให้บริการการท่องเที่ยวแบบพำนักระยะยาวในจังหวัดเชียงใหม่ (ทุนพัฒนานักวิจัยรุ่นใหม่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ประจำปีงบประมาณพ.ศ. 2557)
- การศึกษาเพื่อการพัฒนาศักยภาพการแข่งขันทางการตลาดการท่องเที่ยวเชิง วัฒนธรรมในเส้นทางอารยธรรมล้านนา ภายใต้แผนงานวิจัย “การบริหารจัดการและการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมเส้นทางอารยธรรมล้านนาเชื่อมโยงกับสปป.ลาว สหภาพเมียนม่าร์ และสาธารณรัฐประชาชนจีน (ตอนใต้) (ทุนงบประมาณสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ และสำนักกองทุนสนับสนุนการวิจัย ประจำปีพ.ศ. 2557)
- อาชว์บารมี มณีตระกูลทอง. (2557). “การจ่ายค่าตอบแทนตามผลงานกับวัฒนธรรมความเป็นไทย” วารสาร MBA-KKU. 2557. 1 (7), 21-38.
การนำเสนอผลงานในที่ประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ
2556
- สุรีย์ บุญญานุพงศ์, กรวรรณ สังขกร, สามารถ สุวรรณรัตน์, ธิตินัดดา จินาจันทร์, อาชว์บารมี มณีตระกูลทอง, ศันสนีย์ กระจ่างโฉม, ณัฐสิทธิ์ ศรีนุรักษ์, สุดารัตน์ อุทธารัตน์ และไพลิน ทองธรรมชาติ. (2556). การนำเสนอผลงานแบบโปสเตอร์ ภูมิสังคมล้านนา 10 ทศวรรษการพัฒนากับการก้าวสู่ประชาคมอาเซียน. ในการประชุมวันวิชาการครั้งที่ 9 วิถีวิจัย. เชียงใหม่:มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
- Maneetrakunthong, A. (2013). Communication and Performance-related Pay (PRP): The Differences between Thai, Japanese and US Cultures. Proceeding of The 2nd International Conference on Asian Economic Development: AED 2013, 14 August 2013, School of Economics (CMSE), Chiang Mai, Thailand
2560
- Maneetrakunthong, A. (2017). Improving Community Based Tourism Competitiveness toward AEC in Chiang Mai Province and Lamphun Province. Proceeding of 13th International Conference on Thai Studies Globalized Thailand? Connectivity, Conflicts and Conundrums of Thai Studies, 15-18 July 2017, Chiang Mai, Thailand.
รางวัลจากผลงานวิจัย
รางวัลการนำเสนอผลงานวิจัยดีเด่นแบบบรรยาย เรื่อง การวิเคราะห์องค์ประกอบจุดแข็งเชิงจิตวิทยาในบริบทสังคมไทย: การศึกษาจากคำศัพท์พรรณนาลักษณะบุคคล ในการประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานระดับชาติทางจิตวิทยา ครั้งที่ 8 ประจำปี 2563 พร้อมรับยุคความพลิกผันด้วยจิตวิทยา. เชียงใหม่:มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
ผลงานบริการวิชาการ
- แผนยุทธศาสตร์การท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดลำพูน พ.ศ. 2561-2564 (ทุนอุดหนุนจากกระทรวงท่องเที่ยวและกีฬา)
อาจารย์พลภัทร เจริญเวียงเวชกิจ
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
วิทยาศาสตรบัณฑิต จิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ประวัติการทำงาน
2562 – ปัจจุบัน
- อาจารย์ (ผู้มีความรู้ความสามารถพิเศษ) ภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2554 – 2562
- รองคณบดีฝ่ายวิชาการ / รองคณบดีฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการ / รองคณบดีฝ่ายพัฒนานักศึกษา / อาจารย์ประจำ คณะจิตวิทยา วิทยาลัยเซนต์หลุยส์
2553 – 2554
- ผู้จัดการฝ่ายทรัพยากรบุคคล โรงพยาบาลวิชัยเวช อินเตอร์เนชันแนล
2552 – 2553
- รองผู้จัดการฝ่ายบุคคล บริษัท ไทยฮา จำกัด มหาชน
ความเชี่ยวชาญ
จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ / การบริหารและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ / การพัฒนาองค์การ
ผลงานวิชาการ
- “การพัฒนาแบบวัดบุคลิกภาพเพื่อการศึกษาต่อและการเลือกอาชีพ” ผ่านการนำเสนอในการประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 2 นวัตกรรมการศึกษาเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน (National Conference 2016 on Innovative Education for Sustainable Development)
- “คุณภาพชีวิตการทำงานของชายรักชายในองค์การเอกชน: สิทธิขั้นพื้นฐาน” (View of Homosexual males’ Quality of Working Life in Private Organizations: Primary Rights) ตีพิมพ์ในวารสารการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การ ปีที่ 11 ฉบับที่1/2562
ผลงานบริการวิชาการ
- “การบริหารรางวัลและค่าตอบแทนเพื่อขวัญกำลังใจของพนักงานและความยั่งยืนของธุรกิจ” (3 รุ่น) สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย – ญี่ปุ่น)
- “ผ่าสามก๊ก กลั่นกลยุทธ์ผู้นำ” (3 รุ่น) สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย – ญี่ปุ่น) และ บรรยาย inhouse training ให้แก่บริษัท ทรัพย์ทิพย์ จำกัด
- “การใช้แบบวัดบุคลิกภาพเพื่อการศึกษาต่อและการเลือกอาชีพ” (3 รุ่น) กองส่งเสริมการมีงานทำ กรมการจัดหางาน กระทรวงแรงงาน
อาจารย์ดรณี จันทร์หล้า
ประวัติการศึกษา
ปัจจุบัน กำลังศึกษา ปร.ด. วิทยาศาสตร์การกีฬาและการออกกำลังกาย (จิตวิทยาการกีฬาและการออกกำลังกาย) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
2561 วท.ม. (จิตวิทยาการปรึกษา) มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
2552 วท.บ. (จิตวิทยา) เกียรตินิยมอันดับ 1 มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ประวัติการทำงาน
มิถุนายน 2564 -ปัจจุบัน อาจารย์ ภาควิชาจิตวิทยา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
กรกฎาคม 2560- พฤษภาคม 2564 นักจิตวิทยาคลินิก โรงพยาบาลกรุงเทพเชียงใหม่
พฤศจิกายน 2553- ตุลาคม 2558 นักจิตวิทยาคลินิก สถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์
กุมภาพันธ์ 2552-มกราคม 2553 นักจิตวิทยา โครงการจัดบริการเด็กที่มีพัฒนาการล่าช้าภายใต้การดูแลของสถาบันราชานุกูล
ความเชี่ยวชาญ
เด็กออทิสติก, เด็กพิเศษ, DIR/Floortime, จิตวิทยาเด็กและวัยรุ่น, จิตวิทยาการกีฬา
ผลงานวิชาการ
การตีพิมพ์ระดับชาติ
แสงเดือน ยอดอัญมณีวงศ์, ดรณี จันทร์หล้า และเสาวรส แก้วหิรัญ. (2562). ผลการอบรมหลักสูตรจิตบำบัดเด็กสำหรับนักจิตวิทยาในโรงพยาบาลชุมชน. มนุษยศาสตร์สาร, 20(3): 151-173.
ดรณี จันทร์หล้าและจุฬาภรณ์ สมใจ. (2559). การช่วยเหลือระยะแรกเริ่มในเด็กที่มีภาวะออทิสติกวัยก่อนวัยเรียน. วารสารจิตวิทยาคลินิก,47(2): 30-40.
เสาวรส แก้วหิรัญ, แสงเดือน ยอดอัญมณีวงศ์, รณสิงห์ รือเรือง และดรณี จันทร์หล้า. (2556). การศึกษาและพัฒนาระบบการคัดกรองเด็กที่มีพัฒนาการทางสติปัญญาล่าช้าในจังหวัดเชียงใหม่. วารสารจิตวิทยาคลินิก, 44(2): 16-26.
ดรณี จันทร์หล้า, เสาวรส แก้วหิรัญ, แสงเดือน ยอดอัญมณีวงศ์ และรณสิงห์ รือเรือง. (2556). การวิจัยนำร่องเพื่อศึกษาพัฒนาการด้านอารมณ์และสังคมของเด็กออทิสติกโดยการส่งเสริมพัฒนาการผ่านการเล่น. วารสารจิตวิทยาคลินิก, 44(1): 27-34.
การนำเสนอผลงานในที่ประชุมวิชาการ
ระดับนานาชาติ
Yotanyamaneewong, S. & Junla, D. (2019). Preliminary Research: Development and Effect of the Parent Training Programme for Reducing Dental Fear in Children with Autism Spectrum Disorder. In: Proceeding of Asia Association for Disability and Oral Health AADOH2019: Comprehensive Oral Health Care for Special Needs Patients-Connecting Bridge Among Asian Countries; 2019 April 12-14; Howard Plaza Hotel Kaohsiung, Kaohsiung, Taiwan. (ABSTRACT)
ระดับชาติ
Junla, D. & Yotanyamaneewong, S. (2018). Effects of DIR/Floortime Therapy on Caregivers’ Emotion Co-Regulation and Emotional Development of Children with Autism. Proceedings of Thailand National Conference on Psychology 2018 (TNCP 2018): Harmony Diversity in Psychology Perspective; July 6, 2018; Bangkok. 476-486.
ผลงานบริการวิชาการ
2561-ปัจจุบัน นักจิตวิทยาการกีฬา สมาคมยกน้ำหนักสมัครเล่นแห่งประเทศไทย
2556-ปัจจุบัน ผู้ช่วยที่ปรึกษาด้านพฤติกรรมนักเรียนโรงเรียนมงฟอร์ตวิทยาลัย (แผนกประถม)
2561-2562 บรรยาย “DIR/Floortime สะพานเชื่อมพัฒนาการจากบ้านสู่โรงเรียน” ในมหกรรมการศึกษา EDUCA
2560 การอบรม “เลี้ยงลูกอย่างสมดุล” สำหรับผู้ปกครอง ครูและผู้สนใจ
2558 การอบรมการทำจิตบำบัดเบื้องต้นสำหรับนักจิตวิทยาในโรงพยาบาลชุมชน
ศิษย์เก่าดีเด่นและนักศึกษาดีเด่น
ทำเนียบนักศึกษาเก่า มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ดีเด่น
2537 คุณดุสิต ศิริวรรณ วท.บ. (จิตวิทยา)
2537 อาจารย์วิศิษฐ์ศักดิ์ ไทยทอง วท.บ. (จิตวิทยา)
2548 คุณอิสินธร สอนไว วท.บ. (จิตวิทยา)
2556 รองศาสตราจารย์ ดร.โสรีช์ โพธิแก้ว วท.บ. (จิตวิทยา)
2561 คุณนราทิพย์ รัตตประดิษฐ์ วท.บ. (จิตวิทยา)
2562 คุณวชิรา บุตรวัยวุฒิ วท.บ. (จิตวิทยา)
2563 คุณจินตนา สิงขรอาจ วท.บ. (จิตวิทยา)
ทำเนียบนักศึกษาเก่า คณะมนุษยศาสตร์ดีเด่น
2562 คุณวชิรา บุตรวัยวุฒิ วท.บ. (จิตวิทยา)
2562 อาจารย์ ดร.สมชาย เตียวกุล วท.บ. (จิตวิทยา)
2563 คุณกชกร วารินศิริรักษ์ วท.บ. (จิตวิทยา)
2563 คุณจินตนา สิงขรอาจ วท.บ. (จิตวิทยา)
นักศึกษาปัจจุบันที่ทำชื่อเสียงให้ภาควิชาจิตวิทยา
นางสาวชวิศา อินทกุล รางวัล 2 เหรียญเงิน จากกีฬายิมนาสติกแอโรบิก ประเภทบุคคลหญิง และ ประเภทคู่ผสม จากกฬาซีเกมส์ 2019 ณ ประเทศฟิลิปปินส์